ฟรีดริช ชไลเออร์มัคเคอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟรีดริช ชไลเออร์มัคเคอร์
Friedrich Schleiermacher
เกิด21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1768(1768-11-21)
เบร็สเลา ไซลีเซีย
ราชอาณาจักรปรัสเซีย
เสียชีวิต12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1834(1834-02-12) (65 ปี)
เบอร์ลิน ราชอาณาจักรปรัสเซีย
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยฮัลเลอ (1787–90)[1]
ยุคคริสต์ศตวรรษที่ 18-19
แนวทางปรัชญาตะวันตก
ความสนใจหลัก
เทววิทยา, ปรัชญา, อรรถกถาพันธสัญญาใหม่, จริยศาสตร์, วิภาษวิธี, การเมือง
แนวคิดเด่น
อรรถปริวรรตศาสตร์[2]

ฟรีดริช ดานีเอล แอ็นสท์ ชไลเออร์มัคเคอร์ (เยอรมัน: Friedrich Daniel Ernst Schleiermacher) เป็นนักปรัชญา นักเทววิทยา และปราชญ์พระคัมภีร์ชาวเยอรมัน เขาพยายามเป็นตัวกลางในการประนีประนอมระหว่างฝ่ายลัทธิเรืองปัญญากับฝ่ายโปรเตสแตนต์หัวเก่า

ชไลเออร์มัคเคอร์ในในฐานะนักตีความตำราต่าง ๆ ได้ตั้งคำถามว่าการแปลที่ดีคืออะไร เขามองว่าการแปลมีสองแนวทาง อย่างแรกคือแปลแบบดึงผู้อ่านเข้าหาผู้เขียน (foreignization) อย่างที่สองคือแปลแบบดึงผู้เขียนเข้าหาผู้อ่าน (domestication) เขามองว่างานแปลต่าง ๆ ในยุคนั้นถูกแปลแบบหลังมากเกินไปเพื่ออำนวยความสะดวกสบายให้แก่ผู้อ่าน จนบางครั้งไปลดทอนวัฒนธรรมจากต้นทางลง ชไลเออร์มัคเคอร์มองว่าการแปลที่ดีคือการแปลที่ดีคือการแปลอย่างแรก คือการแปลด้วยสำนวนภาษาที่ผู้อ่านไม่คุ้นเคย ทำให้ผู้อ่านได้รับรู้อรรถรสใหม่ มีมโนทัศน์หรือมโนภาพแบบใหม่ขึ้นมา

อ้างอิง[แก้]

  1. Biografie, Friedrich Schleiermacher
  2. Friedrich Schleiermacher, Hermeneutics: The Handwritten Manuscripts, ed. by Heinz Kimmerle, trans. by James Duke and Jack Forstman (Missoula: Scholars Press, 1977), p. 196: "just as the whole is understood from the parts, so the parts can be understood from the whole. This principle is of such consequence for hermeneutics and so incontestable that one cannot even begin to interpret without using it."
  3. Anthony C. Thiselton, New Horizons in Hermeneutics: The Theory and Practice of Transforming Biblical Reading, Harper Collins, 1997, p. 214.
  4. 4.0 4.1 Friedrich Schleiermacher, "Ueber den Begriff der Hermeneutik mit Bezug auf F. A. Wolfs Andeutungen und Asts Lehrbuch", lecture delivered on 13 August 1829; published in Friedrich Schleiermachers sämtliche Werke III/3, 1838 (Schleiermacher makes reference to Ast's Grundlinien der Grammatik, Hermeneutik und Kritik (1808) and Wolf's Vorlesungen über die Enzyklopädie der Altertumswissenschaft (1831)); Richard E. Palmer, Hermeneutics, Northwestern University Press, 1969, ch. 6.
  5. Michael N. Forster, After Herder: Philosophy of Language in the German Tradition, Oxford University Press, 2010, p. 9.
  6. Frederick C. Beiser, Late German Idealism: Trendelenburg and Lotze, Oxford University Press, 2013, p. 20.
  7. Hinson-Hasty, Elizabeth (2013). "'In Each the Work of All, and in All the Work of Each': Sin and Salvation in Schleiermacher and Rauschenbusch". ใน Wilcox, Jeffrey A.; Tice, Terrence N.; Kelsey, Catherine L. (บ.ก.). Schleiermacher's Influences on American Thought and Religious Life (1835–1920). Vol. 1. Eugene, Oregon: Pickwick Publications. pp. 371–372. ISBN 978-1-60608-005-4.
  8. Schwarz, Hans (2005). Theology in a Global Context: The Last Two Hundred Years. Grand Rapids, Michigan: Wm. B. Eerdmans Publishing Company. pp. 144–145. ISBN 978-0-8028-2986-3.