ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ"

พิกัด: 14°55′41″N 100°02′51″E / 14.9281°N 100.0476°E / 14.9281; 100.0476
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8732043 สร้างโดย 2403:6200:88A3:B09D:2059:FAAD:7083:19BD (พูดคุย)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15: บรรทัด 15:


== สิ่งก่อสร้าง ==
== สิ่งก่อสร้าง ==
*อาคารสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำหลังที่ 1 - รวบรวมพันธุ์สัตว์น้ำจืดและน้ำเค็ม เช่น [[ปลาม้า]] (''Boesemania microlepis''), [[ปลาหนวดพราหมณ์หนวด 14 เส้น]] (''Polynemus multifilis''), [[ปลาบ้า]] (''Leptobarbus hoevenii''), [[ปลาช่อนงูเห่า]] (''Channa aurolineatus''), [[ปลาเสือตอลายใหญ่]] (''Datnioides pulcher''), [[ปลาเทพา]] (''Pangasius sanitwongsei'')
*อาคารสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำหลังที่ 1: รวบรวมพันธุ์สัตว์น้ำจืดและน้ำเค็ม เช่น [[ปลาม้า]] (''Boesemania microlepis''), [[ปลาหนวดพราหมณ์หนวด 14 เส้น]] (''Polynemus multifilis''), [[ปลาบ้า]] (''Leptobarbus hoevenii''), [[ปลาช่อนงูเห่า]] (''Channa aurolineatus''), [[ปลาเสือตอลายใหญ่]] (''Datnioides pulcher''), [[ปลาเทพา]] (''Pangasius sanitwongsei'') เป็นต้น


*อาคารสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำหลังที่ 2 - มีตู้ปลาขนาดใหญ่บรรจุน้ำได้ 400 ลูกบาศก์เมตร เดินดูปลาได้รอบตู้ มีอุโมงค์ยาวประมาณ 8.5 เมตร ซึ่งเป็นอุโมงค์ปลาน้ำจืดแห่งแรกของประเทศไทย
*อาคารสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำหลังที่ 2: มีตู้ปลาขนาดใหญ่บรรจุน้ำได้ 400 ลูกบาศก์เมตร เดินดูปลาได้รอบตู้ มีอุโมงค์ยาวประมาณ 8.5 เมตร ซึ่งเป็นอุโมงค์ปลาน้ำจืดแห่งแรกของประเทศไทย


*อาคารสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำหลังที่ 3 - มีตู้ปลาทรงกระบอกที่เส้นผ่าศูนย์กลาง 2 เมตร สูง 6.08 เมตร อุโมงค์ปลาใต้ทะเล ซึ่งเป็นอุโมงค์[[บันไดเลื่อน]]ความยาวกว่า 12.50 เมตร และมีความสูง 9 เมตร บรรจุปลาทะเลชนิดต่าง ๆ เช่น [[ปลาหมอทะเล]] (''Epinephelus lanceolatus''), [[ปลาชะลิน]] (''Chanos chanos''), [[ปลาฉลามเสือดาว]] (''Stegostoma fasciatum''), [[ปลาโรนันจุดขาว]] (''Rhynchobatus djiddensis'') และอุโมงค์ปลาฉลาม มีความยาว 16 เมตร กว้าง 6 เมตร นับเป็นอุโมงค์ที่เลี้ยง[[ปลาฉลาม]]ที่ใหญ่ที่สุดใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ภายในมีปลาฉลามชนิดต่าง ๆ ได้แก่ [[ปลาฉลามเลมอน]] (''Negaprion brevirostris''), [[ปลาฉลามครีบดำ]] (''Carcharhinus melanopterus''), [[ปลาฉลามเสือดาว]] (''Stegostoma fasciatum'') และ[[ปลาฉลามขี้เซา]] (''Nebrius ferrugineus '')
*อาคารสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำหลังที่ 3: มีตู้ปลาทรงกระบอกที่เส้นผ่าศูนย์กลาง 2 เมตร สูง 6.08 เมตร อุโมงค์ปลาใต้ทะเล ซึ่งเป็นอุโมงค์[[บันไดเลื่อน]]ความยาวกว่า 12.50 เมตร และมีความสูง 9 เมตร บรรจุปลาทะเลชนิดต่าง ๆ เช่น [[ปลาหมอทะเล]] (''Epinephelus lanceolatus''), [[ปลาชะลิน]] (''Chanos chanos''), [[ปลาฉลามเสือดาว]] (''Stegostoma fasciatum''), [[ปลาโรนันจุดขาว]] (''Rhynchobatus djiddensis'') และอุโมงค์ปลาฉลาม มีความยาว 16 เมตร กว้าง 6 เมตร นับเป็นอุโมงค์ที่เลี้ยง[[ปลาฉลาม]]ที่ใหญ่ที่สุดใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ภายในมีปลาฉลามชนิดต่าง ๆ ได้แก่ [[ปลาฉลามเลมอน]] (''Negaprion brevirostris''), [[ปลาฉลามครีบดำ]] (''Carcharhinus melanopterus''), [[ปลาฉลามเสือดาว]] (''Stegostoma fasciatum'') และ[[ปลาฉลามขี้เซา]] (''Nebrius ferrugineus '')


*บ่อ[[จระเข้]]น้ำจืดขนาดพื้นที่ 3 [[ไร่]] ซึ่งเลี้ยงจระเข้พันธุ์พื้นเมืองของไทย ได้แก่ [[จระเข้น้ำจืด]] (''Crocodylus siamensis'') และ[[จระเข้น้ำเค็ม]] (''C. porosus'') มีการแสดงจับจระเข้ทุกวัน วันละ 3 รอบ<ref>เอกสารแนะนำบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี โดย [[องค์การบริหารส่วนจังหวัด]]สุพรรณบุรี (อบจ.สุพรรณบุรี)</ref>
*บ่อ[[จระเข้]]น้ำจืดขนาดพื้นที่ 3 [[ไร่]] ซึ่งเลี้ยงจระเข้พันธุ์พื้นเมืองของไทย ได้แก่ [[จระเข้น้ำจืด]] (''Crocodylus siamensis'') และ[[จระเข้น้ำเค็ม]] (''C. porosus'') มีการแสดงจับจระเข้ทุกวัน วันละ 3 รอบ<ref>เอกสารแนะนำบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี โดย [[องค์การบริหารส่วนจังหวัด]]สุพรรณบุรี</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:07, 29 กันยายน 2564

ลานน้ำพุด้านหน้า
ไฟล์:Bungchawagmaplittle.jpg
แผนที่

สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ ตั้งอยู่ที่ตำบลเดิมบาง อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2539 แล้วเสร็จและเปิดบริการตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 เปิดให้บริการทุกวัน ในเวลา 10.00–15.00 น.

ประวัติ

ในปี พ.ศ. 2537 จังหวัดสุพรรณบุรีได้เริ่ม ดำเนินการปรับปรุงบูรณะบึงฉวากให้เป็นแหล่งน้ำขนาดใหญ่ เพื่อใช้พื้นที่กักเก็บน้ำไว้ใช้เพื่อการอุปโภคบริโภค และการเพาะปลูกให้แก่ราษฎร ในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง ตลอดจนส่งเสริมเป็นแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัด และเป็นแหล่งในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปด้วย โดยได้รับการสนับสนุนจาก นายบรรหาร ศิลปอาชา อดีตนายกรัฐมนตรี ตลอดจนคำแนะนำอันเป็นประโยชน์ และติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานอย่างใกล้ชิด ทำให้โครงการสำเร็จอย่างรวดเร็ว

บึงฉวาก

ดูบทความหลักที่ บึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ

บึงฉวากเป็นแหล่งน้ำธรรมชาติขนาดใหญ่ อยู่ในพื้นที่ 2 จังหวัด คือ อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี กับอำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท และรับน้ำจากคูส่งน้ำซึ่งผันน้ำมาจากแม่น้ำท่าจีน อำเภอเดิมบางนางบวช

บึงฉวากมีความกว้างประมาณ 650 เมตร ความยาวประมาณ 6,500 เมตร ระดับน้ำลึกเฉลี่ย 2 เมตร รวมพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 1,807 ไร่

สิ่งก่อสร้าง

  • อาคารสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำหลังที่ 2: มีตู้ปลาขนาดใหญ่บรรจุน้ำได้ 400 ลูกบาศก์เมตร เดินดูปลาได้รอบตู้ มีอุโมงค์ยาวประมาณ 8.5 เมตร ซึ่งเป็นอุโมงค์ปลาน้ำจืดแห่งแรกของประเทศไทย

อ้างอิง

  1. เอกสารแนะนำบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี โดย องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี

แหล่งข้อมูลอื่น

14°55′41″N 100°02′51″E / 14.9281°N 100.0476°E / 14.9281; 100.0476