ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดนตรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎ศัพทมูลวิทยา: แก้ไข การสะกดที่ไม่ถูกต้อง
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Claves.png|thumb|โน้ตเพลง]]
ด.ช.ธนากร ชาลีวรรณ์ ม.1/8 เลขที่ 22[[ไฟล์:Claves.png|thumb|โน้ตเพลง]]


'''ดนตรี''' ({{lang-en|music}}) คือ [[เสียง]]และโครงสร้างที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ซึ่งมนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรมศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมาในด้าน[[ระดับเสียง (ดนตรี)|ระดับเสียง]] (ซึ่งรวมถึง[[ทำนอง|ท่วงทำนอง]]และ[[เสียงประสาน]]) [[จังหวะ]] และ[[คุณภาพเสียง]] ได้แก่ ความต่อเนื่องของเสียง เนื้อเสียง ความดังค่อย และพรรณลักษณ์ของเสียง (texture)<ref>[http://guru.thaibizcenter.com/articledetail.asp?kid=7209/ ทฤษฎีดนตรี] เรียกข้อมูลวันที่ 17 มีนาคม 2554 : จาก www.guru.thaibizcenter.com</ref>
'''ดนตรี''' ({{lang-en|music}}) คือ [[เสียง]]และโครงสร้างที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ซึ่งมนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรมศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมาในด้าน[[ระดับเสียง (ดนตรี)|ระดับเสียง]] (ซึ่งรวมถึง[[ทำนอง|ท่วงทำนอง]]และ[[เสียงประสาน]]) [[จังหวะ]] และ[[คุณภาพเสียง]] ได้แก่ ความต่อเนื่องของเสียง เนื้อเสียง ความดังค่อย และพรรณลักษณ์ของเสียง (texture)<ref>[http://guru.thaibizcenter.com/articledetail.asp?kid=7209/ ทฤษฎีดนตรี] เรียกข้อมูลวันที่ 17 มีนาคม 2554 : จาก www.guru.thaibizcenter.com</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:50, 4 มิถุนายน 2564

ด.ช.ธนากร ชาลีวรรณ์ ม.1/8 เลขที่ 22

โน้ตเพลง

ดนตรี (อังกฤษ: music) คือ เสียงและโครงสร้างที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ซึ่งมนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรมศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมาในด้านระดับเสียง (ซึ่งรวมถึงท่วงทำนองและเสียงประสาน) จังหวะ และคุณภาพเสียง ได้แก่ ความต่อเนื่องของเสียง เนื้อเสียง ความดังค่อย และพรรณลักษณ์ของเสียง (texture)[1]

ดนตรีในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง กิจกรรมการแสดงออกทางวัฒนธรรม (une activité culturelle) ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับการขับร้อง รวมถึงการสร้างจังหวะและทำนอง ดนตรีจึงมีความสำคัญ ไม่เพียงแค่ในเชิงการสื่อสาร หรือการใช้เพื่อความบันเทิงและในพิธีกรรม แต่ยังรวมถึงความสำคัญในด้านศิลปะ และด้านสุนทรียศาสตร์ อีกด้วย

ศัพทมูลวิทยา

คำว่า "ดนตรี" มีรากศัพท์มาจากภาษาสันสกฤต คือ तन्त्री (ตนฺตฺรี) ซึ่งแปลว่า ดนตรี ในภาษาอื่นที่มีรากศัพท์เดียวกัน ได้แก่ ภาษาเขมร คือ តន្ត្រី (ตนฺตฺรี) และ ภาษาลาว คือ ດົນຕີ (ดนตี)

อ้างอิง

  1. ทฤษฎีดนตรี เรียกข้อมูลวันที่ 17 มีนาคม 2554 : จาก www.guru.thaibizcenter.com

หนังสืออ่านเพิ่ม

  • Colles, Henry Cope (1978). The Growth of Music : A Study in Musical History, 4th ed., London ; New York : Oxford University Press. ISBN 0-19-316116-8 (1913 edition online at Google Books)
  • Harwood, Dane (1976). "Universals in Music: A Perspective from Cognitive Psychology". Ethnomusicology. 20 (3): 521–33. doi:10.2307/851047.
  • Small, Christopher (1977). Music, Society, Education. John Calder Publishers, London. ISBN 0-7145-3614-8