ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การผังเมือง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 6: บรรทัด 6:


== นักผังเมือง / สถาปนิกผังเมืองในประเทศไทย ==
== นักผังเมือง / สถาปนิกผังเมืองในประเทศไทย ==
'''นักผังเมือง''' ในประเทศไทยมีขอบเขตการทำงานที่เกี่ยวข้องกับ 2 [[สมาคมวิชาชีพ]] ได้แก่ [[สมาคมนักผังเมืองไทย]] (Thai City Planners Society - TCPS) เป็นสมาคมของนักผังเมือง (urban planners) และ[[สมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย]] (Thai Urban Designers Association - TUDA) ซึ่งเป็นสมาคมของสถาปนิกผังเมือง หรือสถาปนิกที่ทำงานในสาขา[[สถาปัตยกรรมผังเมือง]] ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่สาขาสถาปัตยกรรมควบคุมของ[[สภาสถาปนิก]] วิชาชีพสถาปนิกผังเมืองจึงเป็นวิชาชีพควบคุมตาม[[พระราชบัญญัติสถาปนิก]] พ.ศ.2543
'''นักผังเมือง''' ในประเทศไทยมีขอบเขตการทำงานที่เกี่ยวข้องกับ 2 [[สมาคมวิชาชีพ]] ได้แก่ [[สมาคมนักผังเมืองไทย]] (Thai City Planners Society - TCPS) เป็นสมาคมของนักผังเมือง (urban planners) และ[[สมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย]] (Thai Urban Designers Association - TUDA) ซึ่งเป็นสมาคมของสถาปนิกผังเมือง (urban designers / urban architects) หรือสถาปนิกที่ทำงานในสาขา[[สถาปัตยกรรมผังเมือง]] ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่สาขาสถาปัตยกรรมควบคุมของ[[สภาสถาปนิก]] วิชาชีพสถาปนิกผังเมืองจึงเป็นวิชาชีพควบคุมตาม[[พระราชบัญญัติสถาปนิก]] พ.ศ.2543


เดิมวิชาผังเมืองเปิดเป็นหลักสูตรสอนในระดับปริญญาโท (บัณฑิตวิทยาลัย) เริ่มครั้งแรกที่ [[ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง]] [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เน้นการวางแผนและนโยบายในภาพกว้างบัณฑิตจากทุกสาขาสามารถเข้าเรียนได้ และ ต่อมา [[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] ได้เปิดสอนที่หลักสูตรปริญญาโท สำหรับผู้ที่จบปริญญาตรีสถาปัตยกรรมและการออกแบบกายภาพอื่นๆ ที่ [[ภาควิชาการออกแบบชุมชนเมือง]] และ [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]ใน [[สาขาวิชาการผังเมือง]]โดยได้รับปริญญาการผังเมืองมหาบัณฑิตโดยตรง ในปัจจุบันมีหลักสูตร[[การออกแบบชุมชนเมือง]] ทั้งนี้ ในปัจจุบันได้ทำการเปิดสอนในระดับปริญญาตรีในหลายมหาวิทยาลัย อาทิ [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]ที่ [[ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง]] [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ใน [[สาขาวิชาการผังเมือง]] และสาขาการออกแบบพัฒนาชุมชนเมือง และ[[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์]] [[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]]ที่ [[สาขาวิชาสถาปัตยกรรมเมืองและชุมชน]] เป็นต้น
เดิมวิชาผังเมืองเปิดเป็นหลักสูตรสอนในระดับปริญญาโท (บัณฑิตวิทยาลัย) เริ่มครั้งแรกที่ [[ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง]] [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เน้นการวางแผนและนโยบายในภาพกว้างบัณฑิตจากทุกสาขาสามารถเข้าเรียนได้ และ ต่อมา [[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] ได้เปิดสอนที่หลักสูตรปริญญาโท สำหรับผู้ที่จบปริญญาตรีสถาปัตยกรรมและการออกแบบกายภาพอื่นๆ ที่ [[ภาควิชาการออกแบบชุมชนเมือง]] และ [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]ใน [[สาขาวิชาการผังเมือง]]โดยได้รับปริญญาการผังเมืองมหาบัณฑิตโดยตรง ในปัจจุบันมีหลักสูตร[[การออกแบบชุมชนเมือง]] ทั้งนี้ ในปัจจุบันได้ทำการเปิดสอนในระดับปริญญาตรีในหลายมหาวิทยาลัย อาทิ [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]ที่ [[ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง]] [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ใน [[สาขาวิชาการผังเมือง]] และสาขาการออกแบบพัฒนาชุมชนเมือง และ[[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์]] [[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]]ที่ [[สาขาวิชาสถาปัตยกรรมเมืองและชุมชน]] เป็นต้น

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:03, 22 มีนาคม 2564

การผังเมือง (อังกฤษ: City Planning) เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสหสาขาวิชา เช่น การวางแผน กฎหมาย สถาปัตยกรรม สังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม วิศวกรรมจราจร เพื่อเป็นการกำหนดนโยบายเพื่อการวางแผนและผังการใช้พื้นที่ของเมือง

ในประเทศไทย หน่วยงานของรัฐฯที่เป็นองค์กรหลักในการจัดทำผังเมืองคือ กรมโยธาธิการและผังเมือง ส่วนกรุงเทพมหานครได้รับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น กำหนดให้มีหน่วยงานที่ดูแลจัดทำผังเมืองของตนเอง คือ สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานคร

วันที่ 8 พฤศจิกายนของทุกปี เป็น "วันผังเมืองโลก" (World Town Planning Day) โดยมีองค์กรหลักที่เกี่ยวข้องคือ The International Society of City and Regional Planners (IsoCaRP) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ และ The America Institute of Certified Planners (AICP) เป็นศูนย์กลางด้านวิชาการวางผังเมืองนานาชาติ

นักผังเมือง / สถาปนิกผังเมืองในประเทศไทย

นักผังเมือง ในประเทศไทยมีขอบเขตการทำงานที่เกี่ยวข้องกับ 2 สมาคมวิชาชีพ ได้แก่ สมาคมนักผังเมืองไทย (Thai City Planners Society - TCPS) เป็นสมาคมของนักผังเมือง (urban planners) และสมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย (Thai Urban Designers Association - TUDA) ซึ่งเป็นสมาคมของสถาปนิกผังเมือง (urban designers / urban architects) หรือสถาปนิกที่ทำงานในสาขาสถาปัตยกรรมผังเมือง ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่สาขาสถาปัตยกรรมควบคุมของสภาสถาปนิก วิชาชีพสถาปนิกผังเมืองจึงเป็นวิชาชีพควบคุมตามพระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ.2543

เดิมวิชาผังเมืองเปิดเป็นหลักสูตรสอนในระดับปริญญาโท (บัณฑิตวิทยาลัย) เริ่มครั้งแรกที่ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เน้นการวางแผนและนโยบายในภาพกว้างบัณฑิตจากทุกสาขาสามารถเข้าเรียนได้ และ ต่อมา มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้เปิดสอนที่หลักสูตรปริญญาโท สำหรับผู้ที่จบปริญญาตรีสถาปัตยกรรมและการออกแบบกายภาพอื่นๆ ที่ ภาควิชาการออกแบบชุมชนเมือง และ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ใน สาขาวิชาการผังเมืองโดยได้รับปริญญาการผังเมืองมหาบัณฑิตโดยตรง ในปัจจุบันมีหลักสูตรการออกแบบชุมชนเมือง ทั้งนี้ ในปัจจุบันได้ทำการเปิดสอนในระดับปริญญาตรีในหลายมหาวิทยาลัย อาทิ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ใน สาขาวิชาการผังเมือง และสาขาการออกแบบพัฒนาชุมชนเมือง และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามที่ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมเมืองและชุมชน เป็นต้น

อ้างอิง

  • Urban Development: The Logic Of Making Plans, Lewis D. Hopkins, Island Press, 2001. ISBN 1-55963-853-2
  • Readings in Planning Theory, Susan Fainstein and Scott Campbell, Oxford, England and Malden, Massachusetts: Blackwell Publishers, 2003.
  • Urban Planning Theory since 1945, Nigel Taylor, London, Sage, 2007

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น