ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำอมฤต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Usertnk (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Phyblas (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
=== ในประเทศจีน ===
=== ในประเทศจีน ===


สมัยจีนโบราณ [[จักรพรรดิจีน|สมเด็จพระจักรพรรดิ]]หลายพระองค์ได้ทรงใช้พระราชอุตสาหะในการควานหาน้ำอมฤต และผลลัพธ์ที่แต่ละพระองค์ทรงประสบก็แตกต่างกันไป โดยในสมัย[[ราชวงศ์ฉิน]] [[จักรพรรดิฉินที่ 1|ฉินสื่อหวงตี้]]ได้ทรงส่ง[[ลัทธิเต๋า|นักพรตเต๋า]]ชื่อ "[[สูฝู]]" ({{zh-all|c=徐福|p=Xúfú}}) พร้อมเด็กชายหญิงอย่างละห้าร้อยคน ออกเดินทางไปยัง[[ทะเลจีนตะวันออก|ทะเลตะวันออก]] ({{zh-all|c=东海|p=dōnghǎi, ตงไห่}}) เพื่อตามหาน้ำอมฤต แต่ขบวนนักพรตสูฝูออกจากพระราชสำนักแล้วก็หายสาบสูญไปมิได้กลับมาอีกเลย บางตำนานว่าพวกเขาไปพบดินแดน[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]แทน
สมัยจีนโบราณ [[จักรพรรดิจีน|สมเด็จพระจักรพรรดิ]]หลายพระองค์ได้ทรงใช้พระราชอุตสาหะในการควานหาน้ำอมฤต และผลลัพธ์ที่แต่ละพระองค์ทรงประสบก็แตกต่างกันไป โดยในสมัย[[ราชวงศ์ฉิน]] [[จักรพรรดิฉินที่ 1|ฉินสื่อหวงตี้]]ได้ทรงส่ง[[ลัทธิเต๋า|นักพรตเต๋า]]ชื่อ "[[สวีฝู]]" ({{zh-all|c=徐福|p=Xúfú}}) พร้อมเด็กชายหญิงอย่างละห้าร้อยคน ออกเดินทางไปยัง[[ทะเลจีนตะวันออก|ทะเลตะวันออก]] ({{zh-all|c=东海|p=dōnghǎi, ตงไห่}}) เพื่อตามหาน้ำอมฤต แต่ขบวนนักพรตสูฝูออกจากพระราชสำนักแล้วก็หายสาบสูญไปมิได้กลับมาอีกเลย บางตำนานว่าพวกเขาไปพบดินแดน[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]แทน


ชาวจีนโบราณเชื่อว่า การรับประทานวัตถุบางอย่าง เช่น [[หยก]] [[ชาด (วัตถุ)|ชาด]] หรือ[[ฮีมาไทต์]] จะช่วยให้อายุยืนยาว
ชาวจีนโบราณเชื่อว่า การรับประทานวัตถุบางอย่าง เช่น [[หยก]] [[ชาด (วัตถุ)|ชาด]] หรือ[[ฮีมาไทต์]] จะช่วยให้อายุยืนยาว


นอกจากนี้ ยังหนังสือจีนเล่มหนึ่งอายุประมาณ [[พ.ศ. 1193]] ชื่อ "ความลับสุดยอดแห่งรสายนเวท" ({{lang-en|Great Secrets of Alchemy}}) ซึ่งเป็นหนังสือมีชื่อเสียงที่สุดในประเทศจีน ระบุรายละเอียดมากมายเกี่ยวกับวิธีผลิตโอสถสำหรับ[[อมตภาพ|ความเป็นอมตะ]]และสำหรับรักษาโรคบางชนิด และวิธีการผลิตเพชรนิลจินดาเอาไว้
นอกจากนี้ ยังมีหนังสือจีนเล่มหนึ่งอายุประมาณ [[พ.ศ. 1193]] ชื่อ "ความลับสุดยอดแห่งรสายนเวท" ({{lang-en|Great Secrets of Alchemy}}) ซึ่งเป็นหนังสือมีชื่อเสียงที่สุดในประเทศจีน ระบุรายละเอียดมากมายเกี่ยวกับวิธีผลิตโอสถสำหรับ[[อมตภาพ|ความเป็นอมตะ]]และสำหรับรักษาโรคบางชนิด และวิธีการผลิตเพชรนิลจินดาเอาไว้


{{โครงส่วน}}
{{โครงส่วน}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:18, 18 กุมภาพันธ์ 2564

น้ำอมฤต /อะมะริด, หรือ อะมะรึด/ หรือ น้ำทิพย์ (อังกฤษ: elixir of life, elixir of immorality หรือ Dancing Water, อาหรับ: الإكسير, อัลอีกซีร์; เปอร์เซีย: آب حیات, อาบเอฮะยาต) เป็นยาน้ำหรือเครื่องดื่มซึ่งเชื่อกันว่าจะยังให้ผู้ดื่มเป็นอมตะหรือคงความเยาว์วัยแห่งรูปร่างไว้ชั่วกัลป์ บ้างก็ว่าสามารถชุบชีวิตหรือสร้างชีวิตใหม่ได้ เรียกว่าเป็นยาแก้สรรพโรคประเภทหนึ่ง และเคยเป็นที่ต้องการและควานไขว่หาอย่างบ้าคลั่งของลัทธิรสายนเวทอยู่พักใหญ่

น้ำอมฤตปรากฏในวรรณกรรมหลายเรื่องของทุกชนชาติ

ประวัติ

ยังไม่มีความกระจ่างชัดว่ามีการค้นพบน้ำอมฤตแล้วหรือยัง กระนั้น บรรดานักรสายนเวทในจีนโบราณ อินเดียโบราณ และโลกตะวันตก ได้พากันควานค้นหากันเป็นขนานใหญ่และอย่างบ้าคลั่ง

ในประเทศจีน น้ำอมฤตได้รับสมญาเป็น "แก่นสารแห่งชีวิต" (อังกฤษ: quintessence of life) โดยเป็นธาตุหนึ่งในห้าตามทฤษฎีทางปรัชญารสายนเวทในประเทศจีน ซึ่งทางอินเดียว่าเป็นธาตุหนึ่งในสามสิบหกธาตุ และทางตะวันตกว่าเป็นหนึ่งในสี่

ในประเทศจีน

สมัยจีนโบราณ สมเด็จพระจักรพรรดิหลายพระองค์ได้ทรงใช้พระราชอุตสาหะในการควานหาน้ำอมฤต และผลลัพธ์ที่แต่ละพระองค์ทรงประสบก็แตกต่างกันไป โดยในสมัยราชวงศ์ฉิน ฉินสื่อหวงตี้ได้ทรงส่งนักพรตเต๋าชื่อ "สวีฝู" (จีน: 徐福; พินอิน: Xúfú) พร้อมเด็กชายหญิงอย่างละห้าร้อยคน ออกเดินทางไปยังทะเลตะวันออก (จีน: 东海; พินอิน: dōnghǎi, ตงไห่) เพื่อตามหาน้ำอมฤต แต่ขบวนนักพรตสูฝูออกจากพระราชสำนักแล้วก็หายสาบสูญไปมิได้กลับมาอีกเลย บางตำนานว่าพวกเขาไปพบดินแดนญี่ปุ่นแทน

ชาวจีนโบราณเชื่อว่า การรับประทานวัตถุบางอย่าง เช่น หยก ชาด หรือฮีมาไทต์ จะช่วยให้อายุยืนยาว

นอกจากนี้ ยังมีหนังสือจีนเล่มหนึ่งอายุประมาณ พ.ศ. 1193 ชื่อ "ความลับสุดยอดแห่งรสายนเวท" (อังกฤษ: Great Secrets of Alchemy) ซึ่งเป็นหนังสือมีชื่อเสียงที่สุดในประเทศจีน ระบุรายละเอียดมากมายเกี่ยวกับวิธีผลิตโอสถสำหรับความเป็นอมตะและสำหรับรักษาโรคบางชนิด และวิธีการผลิตเพชรนิลจินดาเอาไว้

ในประเทศอินเดีย

น้ำอมฤตที่ปรากฏ มาจาก การอวตารภาคหนึ่งของพระนารายณ์ในปาง กูรมาวตาร

ในตะวันออกกลาง

คำว่า "น้ำอมฤต" ในภาษาอังกฤษคือ "elixir" (คำอ่าน: ɪˈlɪksər /อีลีกเซอร์/) เป็นคำที่รับมาจากคำในภาษาอาหรับว่า " آب حیات. " (/อัลอีกซีร์/) ซึ่งก็อาจมาจากคำว่า "Aab-e-Hayaat'" (/อาบเอฮะยาต/) ในภาษาเปอร์เซียอีกทอดหนึ่ง

ในยุคกลางของอิสลาม บรรดานักรสายนเวททั้งชาวอาหรับและอิหร่านล้วนใช้ความพยายามอย่างยิ่งยวดในการค้นหาน้ำอมฤตกัน แต่ก็ไร้ผล หากกลับกลายว่าพวกเขาสามารถพัฒนาวงการแพทย์อิสลามให้รุ่งเรืองได้แทน

ในยุโรป

นาม

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถ

อ้างอิง