ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุมินทร์ อุปโยคิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''สุมินทร์ อุปโยคิน''' เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเช...
 
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ผู้นำประเทศ
| name = สุมินทร์ อุปโยคิน
| image =
| imagesize = 200 px
| order = [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่]]
| primeminister =
| term_start = 5 สิงหาคม พ.ศ. 2489
| term_end = 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2490
| predecessor =
| successor =
| birth_date = ราว พ.ศ. 2453
| birth_place =
| death_date = 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 (อายุ 37 ปี)
| death_place =
| spouse = กาญจนา อุปโยคิน
| religion = [[พุทธ]]
| party =
| signature =
| footnotes =
}}
'''สุมินทร์ อุปโยคิน''' เป็นอดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่]]<ref>พัฒนาการกลุ่มทุนการเมืองในภาคเหนือของประเทศไทย: การเปลี่ยนทุนเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมให้เป็นทุนการเมือง</ref> และเป็นนักธุรกิจสัมปทานป่าไม้ในจังหวัดเชียงใหม่<ref name="นักการเมือง">[http://www.wachum.com/dewey/900/maibio1.pdf นักการเมืองถิ่นจังหวัดเชียงใหม่]</ref>
'''สุมินทร์ อุปโยคิน''' เป็นอดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่]]<ref>พัฒนาการกลุ่มทุนการเมืองในภาคเหนือของประเทศไทย: การเปลี่ยนทุนเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมให้เป็นทุนการเมือง</ref> และเป็นนักธุรกิจสัมปทานป่าไม้ในจังหวัดเชียงใหม่<ref name="นักการเมือง">[http://www.wachum.com/dewey/900/maibio1.pdf นักการเมืองถิ่นจังหวัดเชียงใหม่]</ref>


บรรทัด 4: บรรทัด 24:
สุมินทร์ อุปโยคิน เกิดราวปี พ.ศ. 2453 ในครอบครัว "อุปโยคิน" ซึ่งมีต้นตระกูลคือ หลวงโยนการพิจิตร (ปันโหย่ อุปโยคิน)<ref>[http://www.thainews70.com/%E0%B8%8B%E0%B9%8A%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B9%8A%E0%B8%B0-%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%B2/%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B9%92/ ย่านกาดหลวง(2)]</ref> ซึ่งมีเชื้อสายเดิมมาจากพม่า เข้ามาประกอบอาชีพเป็นหมอนวดประจำคุ้มหลวงของพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ จนต่อมาได้รับสัมปทานป่าไม้ช่วงต่อจากบริษัท [[บอมเบย์เบอร์มาห์เทรดดิงคอร์เพอเรชัน|บอมเบย์เบอร์ม่า]] จนกลายเป็นคหบดีของนครเชียงใหม่ ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ริมน้ำปิง ปัจจุบันคือ โรงแรมเพชรงาม ถนนเจริญประเทศ<ref name="นักการเมือง" />
สุมินทร์ อุปโยคิน เกิดราวปี พ.ศ. 2453 ในครอบครัว "อุปโยคิน" ซึ่งมีต้นตระกูลคือ หลวงโยนการพิจิตร (ปันโหย่ อุปโยคิน)<ref>[http://www.thainews70.com/%E0%B8%8B%E0%B9%8A%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B9%8A%E0%B8%B0-%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%B2/%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B9%92/ ย่านกาดหลวง(2)]</ref> ซึ่งมีเชื้อสายเดิมมาจากพม่า เข้ามาประกอบอาชีพเป็นหมอนวดประจำคุ้มหลวงของพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ จนต่อมาได้รับสัมปทานป่าไม้ช่วงต่อจากบริษัท [[บอมเบย์เบอร์มาห์เทรดดิงคอร์เพอเรชัน|บอมเบย์เบอร์ม่า]] จนกลายเป็นคหบดีของนครเชียงใหม่ ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ริมน้ำปิง ปัจจุบันคือ โรงแรมเพชรงาม ถนนเจริญประเทศ<ref name="นักการเมือง" />


สุมินทร์ อุปโยคิน เป็นบุตรของนายอูบะส่วย อุปโยคิน (บุตรชายหลวงโยนการพิจิตร) กับนางบัวจี๋ อุปโยคิน นายสุมินทร์ เรียนหนังสือที่[[โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย]] และต่อมาเข้าไปเรียนต่อที่[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] แล้วจึงกลับมาเชีงใหม่เพื่อทำสัมปทานป่าไม้ จนกระทั่งใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489]] ซึ่งเป็นการเลือกตั้งเพิ่มเติมใน[[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4]] นายสุมินทร์ได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส.เชียงใหม่ สมัยแรก<ref name="นักการเมือง" />
สุมินทร์ อุปโยคิน เป็นบุตรของนายอูบะส่วย อุปโยคิน (บุตรชายหลวงโยนการพิจิตร) กับนางบัวจี๋ อุปโยคิน นายสุมินทร์ เรียนหนังสือที่[[โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย]] และต่อมาเข้าไปเรียนต่อที่[[ธรรมศาสตรบัณฑิต]]ที่[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]<ref>ศราวุฒิ วิสาพรม. '''ราษฎรสามัญหลังวันปฏิวัติ ๒๔๗๕'''.</ref> แล้วจึงกลับมาเชีงใหม่เพื่อทำสัมปทานป่าไม้ จนกระทั่งใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489]] ซึ่งเป็นการเลือกตั้งเพิ่มเติมใน[[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4]] นายสุมินทร์ได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส.เชียงใหม่ สมัยแรก<ref name="นักการเมือง" />


แต่เมื่อทำงานได้ไม่นาน สุมินทร์ อุปโยคิน ก็เสียชีวิตเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 ด้วยโรคมะเร็ง ในขณะดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ รวมอายุได้ 37 ปี<ref name="นักการเมือง" /><ref>รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 21/วันที่ 28 กรกฎาคม 2490</ref>
แต่เมื่อทำงานได้ไม่นาน สุมินทร์ อุปโยคิน ก็เสียชีวิตเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 ด้วยโรคมะเร็ง ในขณะดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ รวมอายุได้ 37 ปี<ref name="นักการเมือง" /><ref>รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 21/วันที่ 28 กรกฎาคม 2490</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:22, 30 มิถุนายน 2563

สุมินทร์ อุปโยคิน
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่
ดำรงตำแหน่ง
5 สิงหาคม พ.ศ. 2489 – 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2490
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิดราว พ.ศ. 2453
เสียชีวิต18 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 (อายุ 37 ปี)
ศาสนาพุทธ
คู่สมรสกาญจนา อุปโยคิน

สุมินทร์ อุปโยคิน เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่[1] และเป็นนักธุรกิจสัมปทานป่าไม้ในจังหวัดเชียงใหม่[2]

ประวัติ

สุมินทร์ อุปโยคิน เกิดราวปี พ.ศ. 2453 ในครอบครัว "อุปโยคิน" ซึ่งมีต้นตระกูลคือ หลวงโยนการพิจิตร (ปันโหย่ อุปโยคิน)[3] ซึ่งมีเชื้อสายเดิมมาจากพม่า เข้ามาประกอบอาชีพเป็นหมอนวดประจำคุ้มหลวงของพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ จนต่อมาได้รับสัมปทานป่าไม้ช่วงต่อจากบริษัท บอมเบย์เบอร์ม่า จนกลายเป็นคหบดีของนครเชียงใหม่ ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ริมน้ำปิง ปัจจุบันคือ โรงแรมเพชรงาม ถนนเจริญประเทศ[2]

สุมินทร์ อุปโยคิน เป็นบุตรของนายอูบะส่วย อุปโยคิน (บุตรชายหลวงโยนการพิจิตร) กับนางบัวจี๋ อุปโยคิน นายสุมินทร์ เรียนหนังสือที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และต่อมาเข้าไปเรียนต่อที่ธรรมศาสตรบัณฑิตที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์[4] แล้วจึงกลับมาเชีงใหม่เพื่อทำสัมปทานป่าไม้ จนกระทั่งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489 ซึ่งเป็นการเลือกตั้งเพิ่มเติมในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 นายสุมินทร์ได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส.เชียงใหม่ สมัยแรก[2]

แต่เมื่อทำงานได้ไม่นาน สุมินทร์ อุปโยคิน ก็เสียชีวิตเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 ด้วยโรคมะเร็ง ในขณะดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ รวมอายุได้ 37 ปี[2][5]

สุมินทร์ สมรสกับนางกาญจนา อุปโยคิน มีบุตร 6 คน[2]

อ้างอิง

  1. พัฒนาการกลุ่มทุนการเมืองในภาคเหนือของประเทศไทย: การเปลี่ยนทุนเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมให้เป็นทุนการเมือง
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 นักการเมืองถิ่นจังหวัดเชียงใหม่
  3. ย่านกาดหลวง(2)
  4. ศราวุฒิ วิสาพรม. ราษฎรสามัญหลังวันปฏิวัติ ๒๔๗๕.
  5. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 21/วันที่ 28 กรกฎาคม 2490