ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงศรีประกาศ (ฉันท์ วิชยาภัย)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
| image = หลวงศรีประกาศ.jpg
| image = หลวงศรีประกาศ.jpg
| imagesize = 200 px
| imagesize = 200 px
| order = นายกเทศมนตรี[[เทศบาลนครเชียงใหม่|นครเชียงใหม่]]
| order =
| primeminister =
| primeminister =
| term_start =
| term_start = พ.ศ. 2483
| term_end =
| term_end = พ.ศ. 2485
| predecessor =
| predecessor =
| successor =
| successor =
| term_start2 = พ.ศ. 2486
| term_end2 = พ.ศ. 2487
| birth_date = ราว พ.ศ. 2429
| birth_date = ราว พ.ศ. 2429
| birth_place = [[จังหวัดจันทบุรี]]
| birth_place = [[จังหวัดจันทบุรี]]
บรรทัด 24: บรรทัด 26:
หลวงศรีประกาศ ชื่อเดิม ฉันท์ วิชยาภัย เกิดที่[[จังหวัดจันทบุรี]] ต่อมาได้ย้ายตามครอบครัวมาอาศัยอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ สมรสกับนางศรีประกาศ (เรือนแก้ว วิชยาภัย) ไม่มีบุตรธิดา
หลวงศรีประกาศ ชื่อเดิม ฉันท์ วิชยาภัย เกิดที่[[จังหวัดจันทบุรี]] ต่อมาได้ย้ายตามครอบครัวมาอาศัยอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ สมรสกับนางศรีประกาศ (เรือนแก้ว วิชยาภัย) ไม่มีบุตรธิดา


หลวงศรีประกาศ ประกอบอาชีพ[[ทนายความ]] และต่อมาได้เป็นกรรมการสุขาภิบาล โดยได้วางแผนผังสุขาภิบาลสร้างอาคารชั้นเดียวสุขาภิบาล ริเริ่มให้มีการสร้างสะพาน ถนน ตรอกซอยอีกหลายแห่ง กระทั่งได้รับเลือกตั้งเป็น[[เทศบาลนครเชียงใหม่|นายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่]] รวม 6 สมัย<ref>มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 26 ธันวาคม 2557 - 1 มกราคม 2558 '''"ปริศนาโบราณคดี"''' เพ็ญสุภา สุขคตะ.[https://www.matichonweekly.com/column/article_7659]</ref> จนในปี พ.ศ. 2476 ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่
หลวงศรีประกาศ ประกอบอาชีพ[[ทนายความ]] และต่อมาได้เป็นกรรมการสุขาภิบาล โดยได้วางแผนผังสุขาภิบาลสร้างอาคารชั้นเดียวสุขาภิบาล ริเริ่มให้มีการสร้างสะพาน ถนน ตรอกซอยอีกหลายแห่ง ในปี พ.ศ. 2476 ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ กระทั่งได้รับเลือกตั้งเป็น[[เทศบาลนครเชียงใหม่|นายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่]] รวม 6 สมัย<ref>มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 26 ธันวาคม 2557 - 1 มกราคม 2558 '''"ปริศนาโบราณคดี"''' เพ็ญสุภา สุขคตะ.[https://www.matichonweekly.com/column/article_7659]</ref> ระหว่างปี พ.ศ. 2483 - 2487 ยกเว้นในปี พ.ศ. 2486<ref>[http://www.wachum.com/dewey/900/maibio1.pdf นักการเมืองถิ่นจังหวัดเชียงใหม่]</ref>


หลวงศรีประกาศ (ฉันท์ วิชยาภัย) เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2512 อายุ 83 ปี<ref name="cm">[http://www.chiangmaiworldheritage.net/detail_show.php?id=21&lang=th หลวงศรีประกาศ]จากเว็บไซต์ เชียงใหม่ มรดกโลก</ref>
หลวงศรีประกาศ (ฉันท์ วิชยาภัย) เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2512 อายุ 83 ปี<ref name="cm">[http://www.chiangmaiworldheritage.net/detail_show.php?id=21&lang=th หลวงศรีประกาศ]จากเว็บไซต์ เชียงใหม่ มรดกโลก</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:07, 29 มิถุนายน 2563

หลวงศรีประกาศ (ฉันท์ วิชยาภัย)
นายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่
ดำรงตำแหน่ง
พ.ศ. 2483 – พ.ศ. 2485
ดำรงตำแหน่ง
พ.ศ. 2486 – พ.ศ. 2487
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิดราว พ.ศ. 2429
จังหวัดจันทบุรี
เสียชีวิตพ.ศ. 2512 (83 ปี)
ศาสนาพุทธ

หลวงศรีประกาศ (ฉันท์ วิชยาภัย) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรกของจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2476[1][2] และเป็นนักธุรกิจชาวเชีงใหม่ เจ้าของกิจการโรงแรมศรีประกาศ[3]

ประวัติ

หลวงศรีประกาศ ชื่อเดิม ฉันท์ วิชยาภัย เกิดที่จังหวัดจันทบุรี ต่อมาได้ย้ายตามครอบครัวมาอาศัยอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ สมรสกับนางศรีประกาศ (เรือนแก้ว วิชยาภัย) ไม่มีบุตรธิดา

หลวงศรีประกาศ ประกอบอาชีพทนายความ และต่อมาได้เป็นกรรมการสุขาภิบาล โดยได้วางแผนผังสุขาภิบาลสร้างอาคารชั้นเดียวสุขาภิบาล ริเริ่มให้มีการสร้างสะพาน ถนน ตรอกซอยอีกหลายแห่ง ในปี พ.ศ. 2476 ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ กระทั่งได้รับเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ รวม 6 สมัย[4] ระหว่างปี พ.ศ. 2483 - 2487 ยกเว้นในปี พ.ศ. 2486[5]

หลวงศรีประกาศ (ฉันท์ วิชยาภัย) เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2512 อายุ 83 ปี[6]

ผลงาน

หลวงศรีประกาศ มีแนวความคิดที่จะขยายเขตไฟฟ้าไปยังวัดพระธาตุดอยสุเทพ จึงได้นำเรื่องไปปรึกษากับครูบาศรีวิชัย และเป็นที่มาของการร่วมกันในการก่อสร้างถนนศรีวิชัยจากบ้านห้วยแก้วขึ้นสู่พระธาตุดอยสุเทพ[7] ใช้เวลาสร้าง 5 เดือน 22 วัน โดยไม่ได้ใช้งบของทางราชการ และในการทนุบำรุงศาสนา ก็ได้มีส่วนในการจัดตั้งพุทธสถานเชียงใหม่[6] และมีผลงานในการริเริ่มโครงการสำคัญหลายแห่งในจังหวัดเชียงใหม่

เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ มีผลงานในการพัฒนาระบบสุขาภิบาลทั่วเมืองรวม ทั้งได้ก่อสร้างโรงพยาบาลเทศบาลนครเชียงใหม่ และสนามกีฬาเทศบาลนครเชียงใหม่[8]

อ้างอิง

  1. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
  2. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปรเภทที่ 1
  3. ศรีประกาศ : เมื่อคนเชียงใหม่ใช้น้ำใจเปลี่ยนโรงแรมอายุร้อยปีให้ชิคขนาด
  4. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 26 ธันวาคม 2557 - 1 มกราคม 2558 "ปริศนาโบราณคดี" เพ็ญสุภา สุขคตะ.[1]
  5. นักการเมืองถิ่นจังหวัดเชียงใหม่
  6. 6.0 6.1 หลวงศรีประกาศจากเว็บไซต์ เชียงใหม่ มรดกโลก
  7. บุญเสริม ศาสตราภัย และสังคีต จันทนะโพธิ. (2520) อดีตลานนา กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ์
  8. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 24 - 30 สิงหาคม 2561ออนไลน์ สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2562