ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นักโทษ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{issues|ต้องการอ้างอิง=yes|มุมมองสากล=yes|โปร=yes}}
{{issues|ต้องการอ้างอิง=yes|มุมมองสากล=yes|โปร=yes}}


'''นักโทษ''' หมายถึง [[ผู้ต้องขัง]]ที่อยู่ภายใน[[ทัณฑสถาน]] โดยใน[[พ.ศ. 2549]] มีนักโทษที่อยู่ในความดูแลของ[[กรมราชทัณฑ์]] 161,844 คน {{อ้างอิง}}
'''นักโทษ''' หมายถึง [[ผู้ต้องขัง]]ที่อยู่ภายใน[[ทัณฑสถาน]] โดยใน[[พ.ศ. 2549|พ.ศ. ๒๕๔๙]] มีนักโทษที่อยู่ในความดูแลของ[[กรมราชทัณฑ์]] ๑๖๑,๘๔๔ คน {{อ้างอิง}}


ก่อนหน้านี้ ผู้กระทำผิดซึ่ง[[ศาล]]ตัดสินให้ต้องโทษ[[จำคุก]]ถูกเรียกว่า “นักโทษ” (prisoner) แต่ต่อมาถูกเปลี่ยนเป็น “ผู้ต้องขัง” (inmate) เนื่องจากการเปลี่ยนแนวคิดเรื่องการลงโทษใน[[ประเทศสหรัฐอเมริกา]]จากการลงโทษเพื่อลงโทษมาเป็นเพื่อแก้ไขฟื้นฟู
ก่อนหน้านี้ ผู้กระทำผิดซึ่ง[[ศาล]]ตัดสินให้ต้องโทษ[[จำคุก]]ถูกเรียกว่า “นักโทษ” (prisoner) แต่ต่อมาถูกเปลี่ยนเป็น “ผู้ต้องขัง” (inmate) เนื่องจากการเปลี่ยนแนวคิดเรื่องการลงโทษใน[[ประเทศสหรัฐอเมริกา]]จากการลงโทษเพื่อลงโทษมาเป็นเพื่อแก้ไขฟื้นฟู


[[พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479]] มาตรา 4 (2) – (6) ระบุว่า ผู้ต้องขัง หมายถึง “นักโทษเด็ดขาด คนต้องขังและคนฝาก” โดยนักโทษเด็ดขาด คือ “บุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามหมายจำคุกภายหลังคำพิพากษาถึงที่สุด และหมายความรวมถึงบุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายให้ลงโทษด้วย” และคนต้องขัง คือ “บุคคลที่ถูกฝากขังไว้ตามหมายขัง” นอกจากนี้ยังมีผู้ต้องขังอีก 2 ประเภทคือ คนฝาก หมายถึง “บุคคลที่ถูกฝากให้ควบคุมไว้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาหรือ กฎหมายอื่น โดยไม่มีหมายอาญา” และ นักโทษพิเศษ ซึ่งเป็น “นักโทษเด็ดขาดซึ่งส่งไปอยู่ทัณฑนิคมตามพระราชบัญญัตินี้”
[[พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479|พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๗๙]] มาตรา () – () ระบุว่า ผู้ต้องขัง หมายถึง “นักโทษเด็ดขาด คนต้องขังและคนฝาก” โดยนักโทษเด็ดขาด คือ “บุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามหมายจำคุกภายหลังคำพิพากษาถึงที่สุด และหมายความรวมถึงบุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายให้ลงโทษด้วย” และคนต้องขัง คือ “บุคคลที่ถูกฝากขังไว้ตามหมายขัง” นอกจากนี้ยังมีผู้ต้องขังอีก ประเภทคือ คนฝาก หมายถึง “บุคคลที่ถูกฝากให้ควบคุมไว้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาหรือ กฎหมายอื่น โดยไม่มีหมายอาญา” และ นักโทษพิเศษ ซึ่งเป็น “นักโทษเด็ดขาดซึ่งส่งไปอยู่ทัณฑนิคมตามพระราชบัญญัตินี้”


ต่อมาในพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2522 เปลี่ยนความหมายของนักโทษเด็ดขาดเป็น “บุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามหมายจำคุกภายหลังคำพิพากษาถึงที่สุด และหมายความรวมถึงบุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย ให้ลงโทษด้วย”
ต่อมาในพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ (ฉบับที่ ) พ.ศ. ๒๕๒๒ เปลี่ยนความหมายของนักโทษเด็ดขาดเป็น “บุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามหมายจำคุกภายหลังคำพิพากษาถึงที่สุด และหมายความรวมถึงบุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย ให้ลงโทษด้วย”


ผู้บัญชาการดูแลและมีอำนาจสูงสุดประเทศไทย จอมทัพ อนุชล กลยนี นายกรัฐมนเอก และสั่งการมอบหมายให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์เป็นผู้ดูแลสัั่งการแทนในขณะนี้
ผู้บัญชาการดูแลและมีอำนาจสูงสุดประเทศไทย ในปัจจุบันคือ จอมทัพ อนุชล กลยนี นายกรัฐมนเอก และสั่งการมอบหมายให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์เป็นผู้ดูแลสัั่งการแทนในขณะนี้ นับตั้งแต่พุทธศักราช ๒๕๔๒ ตามพระราชบัญญัติผู้สืบทอด ตามกฏหมายรัฐธรรมนูญ ตามพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๕๓๙ มาตรา ๕(๒)-๖(๓) ระบบบริหารตามกฏหมายราชทัณฑ์ ว่าด้วยผู้มีอำนาจสั่งการตามขั้นตำแหน่งคือ

๑.ผู้บัญชาการอำนาจสูงสุดราชทัณฑ์

๒.อธิบดีกรมราชทัณฑ์

๓.รองอธิบดี (๑)

๔.รองอธิบดี (๒)

๕.รองอธิบดี (๓)

๖.รองอธิบ (๔)

และจะมีการอนุมัติดูแลคำสั่งต่างๆจาก คณะกรรมการบริหาร จากทุกคณะรัฐมนตรีฯ ในกระทรวงยุติธรรม แต่งตั้งโดย พระมหากษัตริย์


[[หมวดหมู่:กฎหมายระหว่างประเทศ]]
[[หมวดหมู่:กฎหมายระหว่างประเทศ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:47, 29 กุมภาพันธ์ 2563

นักโทษ หมายถึง ผู้ต้องขังที่อยู่ภายในทัณฑสถาน โดยในพ.ศ. ๒๕๔๙ มีนักโทษที่อยู่ในความดูแลของกรมราชทัณฑ์ ๑๖๑,๘๔๔ คน [ต้องการอ้างอิง]

ก่อนหน้านี้ ผู้กระทำผิดซึ่งศาลตัดสินให้ต้องโทษจำคุกถูกเรียกว่า “นักโทษ” (prisoner) แต่ต่อมาถูกเปลี่ยนเป็น “ผู้ต้องขัง” (inmate) เนื่องจากการเปลี่ยนแนวคิดเรื่องการลงโทษในประเทศสหรัฐอเมริกาจากการลงโทษเพื่อลงโทษมาเป็นเพื่อแก้ไขฟื้นฟู

พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๗๙ มาตรา ๔(๒) – (๖) ระบุว่า ผู้ต้องขัง หมายถึง “นักโทษเด็ดขาด คนต้องขังและคนฝาก” โดยนักโทษเด็ดขาด คือ “บุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามหมายจำคุกภายหลังคำพิพากษาถึงที่สุด และหมายความรวมถึงบุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายให้ลงโทษด้วย” และคนต้องขัง คือ “บุคคลที่ถูกฝากขังไว้ตามหมายขัง” นอกจากนี้ยังมีผู้ต้องขังอีก ๒ ประเภทคือ คนฝาก หมายถึง “บุคคลที่ถูกฝากให้ควบคุมไว้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาหรือ กฎหมายอื่น โดยไม่มีหมายอาญา” และ นักโทษพิเศษ ซึ่งเป็น “นักโทษเด็ดขาดซึ่งส่งไปอยู่ทัณฑนิคมตามพระราชบัญญัตินี้”

ต่อมาในพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ เปลี่ยนความหมายของนักโทษเด็ดขาดเป็น “บุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามหมายจำคุกภายหลังคำพิพากษาถึงที่สุด และหมายความรวมถึงบุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย ให้ลงโทษด้วย”

ผู้บัญชาการดูแลและมีอำนาจสูงสุดประเทศไทย ในปัจจุบันคือ จอมทัพ อนุชล กลยนี นายกรัฐมนเอก และสั่งการมอบหมายให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์เป็นผู้ดูแลสัั่งการแทนในขณะนี้ นับตั้งแต่พุทธศักราช ๒๕๔๒ ตามพระราชบัญญัติผู้สืบทอด ตามกฏหมายรัฐธรรมนูญ ตามพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๕๓๙ มาตรา ๕(๒)-๖(๓) ระบบบริหารตามกฏหมายราชทัณฑ์ ว่าด้วยผู้มีอำนาจสั่งการตามขั้นตำแหน่งคือ

๑.ผู้บัญชาการอำนาจสูงสุดราชทัณฑ์

๒.อธิบดีกรมราชทัณฑ์

๓.รองอธิบดี (๑)

๔.รองอธิบดี (๒)

๕.รองอธิบดี (๓)

๖.รองอธิบ (๔)

และจะมีการอนุมัติดูแลคำสั่งต่างๆจาก คณะกรรมการบริหาร จากทุกคณะรัฐมนตรีฯ ในกระทรวงยุติธรรม แต่งตั้งโดย พระมหากษัตริย์