ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงบางส่วน
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ปรับภาษา}}
{{ปรับภาษา}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{โปร}}
{{โปร}}'''ภาวะความเครียดผิดปกติหลังเหตุสะเทือนใจ''' ({{lang-en|Posttraumatic stress disorder}}) มีชื่อย่ออย่างเป็นสากลว่า PTSD เป็นภาวะความเครียดที่ก่อให้เกิดอาการดังกล่าว อาการมักเป็นหลังจากเจอสถานการณ์ที่สะเทือนใจ ซึ่งต่างจาก Acute stress reaction ที่จะเกิดอาการขึ้นทันที่ที่เจอเหตุการณ์นั้นๆ

{{Infobox disease
| Name = ภาวะความเครียดผิดปกติหลังเหตุสะเทือนใจ<br />(Posttraumatic stress disorder)
| DiseasesDB = 33846
| ICD10 = {{ICD10|F|43|1|f|40}}
| ICD9 = {{ICD9|309.81}}
| ICDO =
| OMIM =
| MedlinePlus = 000925
| eMedicineSubj = med
| eMedicineTopic = 1900
| MeshID = D013313
}}
'''ภาวะความเครียดผิดปกติหลังเหตุสะเทือนใจ''' ({{lang-en|Posttraumatic stress disorder}}) มีชื่อย่ออย่างเป็นสากลว่า PTSD เป็นภาวะ[[ความเครียด]]ที่ก่อให้เกิดอาการดังกล่าว อาการมักเป็นหลังจากเจอสถานการณ์ที่สะเทือนใจ ซึ่งต่างจาก [[Acute stress reaction]] ที่จะเกิดอาการขึ้นทันทีที่เจอเหตุการณ์นั้น ๆ


== สาเหตุ ==
== สาเหตุ ==
ได้พบเจอกับเรื่องราวหรือสถานการณ์ที่สะเทือนใจมากๆ ซึ่งมักเป็นแบบเรื้อรัง และมักเป็นสถานการณ์พวกหายนะต่างๆ ได้แก่
ได้พบเจอกับเรื่องราวหรือสถานการณ์ที่สะเทือนใจมาก ๆ ซึ่งมักเป็นแบบเรื้อรัง และมักเป็นสถานการณ์พวกหายนะต่าง ๆ ได้แก่
# Natural disaster ภัยธรรมชาติ เช่น สึนามิ ภูเขาไฟระเบิด
# Natural disaster ภัยธรรมชาติ เช่น สึนามิ ภูเขาไฟระเบิด
# Technological disaster ภัยที่เกิดจากความก้าวหน้าของมนุษย์ เช่น ระเบิดปรมาณู สารกัมมันตภาพรังสีรั่วไหล
# Technological disaster ภัยที่เกิดจากความก้าวหน้าของมนุษย์ เช่น ระเบิดปรมาณู สารกัมมันตภาพรังสีรั่วไหล
# Man made disaster เช่น ก่อการร้าย ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ น่าสังเกตว่าสถานการณ์นี้ส่งผลให้เกิด PTSD ถึง 70% แสดงให้เห็นว่าสิ่งใดก็ตามที่มีผลด้านจิตใจเข้ามาเกี่ยวข้องจะยิ่งทำให้เกิด PTSD ง่ายขึ้น
# Man made disaster เช่น ก่อการร้าย ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ น่าสังเกตว่าสถานการณ์นี้ส่งผลให้เกิด PTSD ถึง 70% แสดงให้เห็นว่าสิ่งใดก็ตามที่มีผลด้านจิตใจเข้ามาเกี่ยวข้องจะยิ่งทำให้เกิด PTSD ง่ายขึ้น


=== เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นทั้งภาวะ Threatening (คุกคามต่อผู้ป่วยโดยตรง) หรือ Depressivness (ไม่ได้โดนกับตัวเอง แต่โดนกับคนที่ตนเองรัก) ===
เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นทั้งภาวะ Threatening (คุกคามต่อผู้ป่วยโดยตรง) หรือ Depressivness (ไม่ได้โดนกับตัวเอง แต่โดนกับคนที่ตนเองรัก)


== อาการ ==
== อาการ ==
อาการทั่วๆไป ได้แก่ กลัว สิ้นหวัง หวาดผวา รู้สึกผิด ละอายใจ โกรธ ไม่มีใครหรืออะไรช่วยได้เลย
อาการทั่ว ๆ ไป ได้แก่ กลัว สิ้นหวัง หวาดผวา รู้สึกผิด ละอายใจ โกรธ ไม่มีใครหรืออะไรช่วยได้เลย


; อาการสำคัญ
; อาการสำคัญ
# เกิดภาพเหตุการณ์นั้นๆ ซ้ำแล้วซ้ำอีก นึกถึงแล้วนึกถึงอีก
# เกิดภาพเหตุการณ์นั้น ๆ ซ้ำแล้วซ้ำอีก นึกถึงแล้วนึกถึงอีก
# มักจะพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งที่เชื่อมโยงกับสถานการณ์ดังกล่าว เช่น คนที่ขับรถชนคนตาย แล้วไม่กล้าขับรถอีกเลย ดูหนังหรือเห็นอะไรเกี่ยวกับรถก็ไม่ได้
# มักจะพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งที่เชื่อมโยงกับสถานการณ์ดังกล่าว เช่น คนที่ขับรถชนคนตาย แล้วไม่กล้าขับรถอีกเลย ดูหนังหรือเห็นอะไรเกี่ยวกับรถก็ไม่ได้
# อาการทางจิตใจ ได้แก่ ตื่นตัว สะดุ้ง ตกใจ ไม่มีสมาธิ เครียดง่ายกับเรื่องธรรมดา
# อาการทางจิตใจ ได้แก่ ตื่นตัว สะดุ้ง ตกใจ ไม่มีสมาธิ เครียดง่ายกับเรื่องธรรมดา
บรรทัด 23: บรรทัด 37:
== แนวทางการรักษา ==
== แนวทางการรักษา ==
'''แนวทางการรักษาโดยการใช้ยา'''
'''แนวทางการรักษาโดยการใช้ยา'''
# ใช้ยาแก้ซึมเศร้า เช่น ฟลูอ็อกเซทีน<ref group="How ">OK </ref>, พาโรเซทีน
# ใช้ยาแก้ซึมเศร้า เช่น [[ฟลูอ็อกเซทีน]], พาโรเซทีน
# ใช้ยาพวก Adrenergic block agents
# ใช้ยาพวก Adrenergic block agents
# ใช้ยาพวก Antianxiety เช่น Diazepham
# ใช้ยาพวก Antianxiety เช่น Diazepham


'''แนวทางการรักษาโดยวิธีอื่นๆ'''
'''แนวทางการรักษาโดยวิธีอื่น ๆ'''
# Hypnosis สะกดจิต
# Hypnosis สะกดจิต
# Psychotherapy จิตบำบัด
# Psychotherapy จิตบำบัด
บรรทัด 34: บรรทัด 48:


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
* Maxmen, J. S.; Ward, N. G. (2002). Psychotropic drugs: fast facts (third ed.). New York: W. W. Norton. pp. 347–349. .OpenWebNetuopnv
* Maxmen, J. S.; Ward, N. G. (2002). Psychotropic drugs: fast facts (third ed.). New York: W. W. Norton. pp. 347–349. ISBN 0-393-70301-0.


[[หมวดหมู่:โรควิตกกังวล]]
[[หมวดหมู่:โรควิตกกังวล]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:45, 10 ตุลาคม 2562

ภาวะความเครียดผิดปกติหลังเหตุสะเทือนใจ
(Posttraumatic stress disorder)
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10F43.1
ICD-9309.81
DiseasesDB33846
MedlinePlus000925
eMedicinemed/1900
MeSHD013313

ภาวะความเครียดผิดปกติหลังเหตุสะเทือนใจ (อังกฤษ: Posttraumatic stress disorder) มีชื่อย่ออย่างเป็นสากลว่า PTSD เป็นภาวะความเครียดที่ก่อให้เกิดอาการดังกล่าว อาการมักเป็นหลังจากเจอสถานการณ์ที่สะเทือนใจ ซึ่งต่างจาก Acute stress reaction ที่จะเกิดอาการขึ้นทันทีที่เจอเหตุการณ์นั้น ๆ

สาเหตุ

ได้พบเจอกับเรื่องราวหรือสถานการณ์ที่สะเทือนใจมาก ๆ ซึ่งมักเป็นแบบเรื้อรัง และมักเป็นสถานการณ์พวกหายนะต่าง ๆ ได้แก่

  1. Natural disaster ภัยธรรมชาติ เช่น สึนามิ ภูเขาไฟระเบิด
  2. Technological disaster ภัยที่เกิดจากความก้าวหน้าของมนุษย์ เช่น ระเบิดปรมาณู สารกัมมันตภาพรังสีรั่วไหล
  3. Man made disaster เช่น ก่อการร้าย ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ น่าสังเกตว่าสถานการณ์นี้ส่งผลให้เกิด PTSD ถึง 70% แสดงให้เห็นว่าสิ่งใดก็ตามที่มีผลด้านจิตใจเข้ามาเกี่ยวข้องจะยิ่งทำให้เกิด PTSD ง่ายขึ้น

เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นทั้งภาวะ Threatening (คุกคามต่อผู้ป่วยโดยตรง) หรือ Depressivness (ไม่ได้โดนกับตัวเอง แต่โดนกับคนที่ตนเองรัก)

อาการ

อาการทั่ว ๆ ไป ได้แก่ กลัว สิ้นหวัง หวาดผวา รู้สึกผิด ละอายใจ โกรธ ไม่มีใครหรืออะไรช่วยได้เลย

อาการสำคัญ
  1. เกิดภาพเหตุการณ์นั้น ๆ ซ้ำแล้วซ้ำอีก นึกถึงแล้วนึกถึงอีก
  2. มักจะพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งที่เชื่อมโยงกับสถานการณ์ดังกล่าว เช่น คนที่ขับรถชนคนตาย แล้วไม่กล้าขับรถอีกเลย ดูหนังหรือเห็นอะไรเกี่ยวกับรถก็ไม่ได้
  3. อาการทางจิตใจ ได้แก่ ตื่นตัว สะดุ้ง ตกใจ ไม่มีสมาธิ เครียดง่ายกับเรื่องธรรมดา

ทั้งนี้ทั้งนั้นสิ่งสำคัญอาการดังกล่าวต้องเป็นต่อเนื่องกันนานกว่า 1 เดือน

แนวทางการรักษา

แนวทางการรักษาโดยการใช้ยา

  1. ใช้ยาแก้ซึมเศร้า เช่น ฟลูอ็อกเซทีน, พาโรเซทีน
  2. ใช้ยาพวก Adrenergic block agents
  3. ใช้ยาพวก Antianxiety เช่น Diazepham

แนวทางการรักษาโดยวิธีอื่น ๆ

  1. Hypnosis สะกดจิต
  2. Psychotherapy จิตบำบัด
  3. Anxiety management programme
  4. Group therapy ให้ผู้ป่วยมาคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้ป่วยอื่นที่เป็นเหมือนกัน

อ้างอิง

  • Maxmen, J. S.; Ward, N. G. (2002). Psychotropic drugs: fast facts (third ed.). New York: W. W. Norton. pp. 347–349. ISBN 0-393-70301-0.