ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17: บรรทัด 17:


== พระประวัติ ==
== พระประวัติ ==
หม่อมราชวงศ์แก้วกัลยา สุประดิษฐ์ สมภพเมื่อ พ.ศ. 2392 ในสมัยรัชกาลที่ 3 ขณะนั้น พระบิดายังเป็น หม่อมเจ้าสุประดิษฐ์ โอรสในเจ้าฟ้ามงกุฎ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 จึงได้เป็น หม่อมเจ้า ชั้นหลานหลวง [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้ทรงชุบเลี้ยงหม่อมเจ้าแก้วกัลยาคล้ายกับพระเจ้าลูกเธอในพระองค์ ถึงกับโปรดเกล้าฯ ให้เข้าแห่ต่อท้ายกระบวนแห่โสกันต์[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี|พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา]] [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์|พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี]] และ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภัศร|พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประภัศร]]ด้วย
หม่อมราชวงศ์แก้วกัลยา สุประดิษฐ์ ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2392 ในสมัยรัชกาลที่ 3 ขณะนั้น พระบิดายังเป็น หม่อมเจ้าสุประดิษฐ์ โอรสในเจ้าฟ้ามงกุฎ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 จึงได้เป็น หม่อมเจ้า ชั้นหลานหลวง [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้ทรงชุบเลี้ยงหม่อมเจ้าแก้วกัลยาคล้ายกับพระเจ้าลูกเธอในพระองค์ ถึงกับโปรดเกล้าฯ ให้เข้าแห่ต่อท้ายกระบวนแห่โสกันต์[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี|พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา]] [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์|พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี]] และ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภัศร|พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประภัศร]]ด้วย


ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ทรงรับราชการฝ่ายใน ทรงปฏิบัติเป็นพระอภิบาลใน[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ตั้งแต่เสด็จพระราชสมภพจนกระทั่งเจริญพระชนมพรรษาได้ 10 พรรษา ครั้นต่อมา ปี พ.ศ. 2456 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชหฤทัยรำลึกถึงคุณความดีของหม่อมเจ้าแก้วกัลยาที่ได้ทรงทำหน้าที่พระอภิบาลพระองค์มาโดยมิได้บกพร่อง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระอิสริยยศเป็น "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี"<ref>กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร, ย้อนรอยราชสกุลวงศ์ วังหลวง, ดอกหญ้า, 2549, ISBN 974-941-205-2</ref> ทรงศักดินา 3000
ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ทรงรับราชการฝ่ายใน ทรงปฏิบัติเป็นพระอภิบาลใน[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ตั้งแต่เสด็จพระราชสมภพจนกระทั่งเจริญพระชนมพรรษาได้ 10 พรรษา ครั้นต่อมา ปี พ.ศ. 2456 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชหฤทัยรำลึกถึงคุณความดีของหม่อมเจ้าแก้วกัลยาที่ได้ทรงทำหน้าที่พระอภิบาลพระองค์มาโดยมิได้บกพร่อง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระอิสริยยศเป็น "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี"<ref>กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร, ย้อนรอยราชสกุลวงศ์ วังหลวง, ดอกหญ้า, 2549, ISBN 974-941-205-2</ref> ทรงศักดินา 3000
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2456 ในรัชกาลที่ 6 พระราชทานเพลิงพระศพ ณ [[วัดราชาธิวาส]] เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2457<ref>{{อ้างหนังสือ||ผู้แต่ง=ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร||ชื่อหนังสือ=พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี||URL=||จังหวัด=กรุงเทพ||พิมพ์ที่=สำนักพิมพ์บรรณกิจ||ปี= พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549||ISBN=974-221-818-8||หน้า=หน้าที่||จำนวนหน้า=360}}</ref>
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2456 ในรัชกาลที่ 6 พระราชทานเพลิงพระศพ ณ [[วัดราชาธิวาส]] เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2457<ref>{{อ้างหนังสือ||ผู้แต่ง=ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร||ชื่อหนังสือ=พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี||URL=||จังหวัด=กรุงเทพ||พิมพ์ที่=สำนักพิมพ์บรรณกิจ||ปี= พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549||ISBN=974-221-818-8||หน้า=หน้าที่||จำนวนหน้า=360}}</ref>


==พระเกียรติยศ==
==เครื่องราชอิสริยาภรณ์==

=== พระอิสริยยศ ===

* หม่อมเจ้าแก้วกัลยา สุประดิษฐ์ (พ.ศ. 2392 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456)
* พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456 - ปัจจุบัน)

=== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ===

* [[ไฟล์:King Rama IV Royal Cypher Medal (Thailand) ribbon.png|80px|border]] [[เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4]] ชั้นที่ 3 (ม.ป.ร.3)<ref>{{cite journal|journal= ราชกิจจานุเบกษา |volume= 21 |issue= 32 |pages= 572 |title= พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4 |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2447/032/570.PDF |date= 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2447 |language= ไทย }}</ref>
* [[ไฟล์:King Rama IV Royal Cypher Medal (Thailand) ribbon.png|80px|border]] [[เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4]] ชั้นที่ 3 (ม.ป.ร.3)<ref>{{cite journal|journal= ราชกิจจานุเบกษา |volume= 21 |issue= 32 |pages= 572 |title= พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4 |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2447/032/570.PDF |date= 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2447 |language= ไทย }}</ref>
* [[ไฟล์:King Rama VI Royal Cypher Medal (Thailand) ribbon.png|80px|border]] [[เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6]] ชั้นที่ 3 (ว.ป.ร.3)<ref>{{cite journal|journal= ราชกิจจานุเบกษา |volume= 27 |issue= 0ง |pages= 3100 |title= พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลปัตยุบัน ฝ่ายใน |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2453/D/3100.PDF |date= 19 มีนาคม พ.ศ. 2453 |language= ไทย }}</ref>
* [[ไฟล์:King Rama VI Royal Cypher Medal (Thailand) ribbon.png|80px|border]] [[เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6]] ชั้นที่ 3 (ว.ป.ร.3)<ref>{{cite journal|journal= ราชกิจจานุเบกษา |volume= 27 |issue= 0ง |pages= 3100 |title= พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลปัตยุบัน ฝ่ายใน |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2453/D/3100.PDF |date= 19 มีนาคม พ.ศ. 2453 |language= ไทย }}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:13, 3 กันยายน 2562

พระวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี
พระวรวงศ์เธอ
ประสูติพ.ศ. 2392
สิ้นพระชนม์3 ธันวาคม พ.ศ. 2456
พระสวามีหม่อมเจ้าเดช นพวงศ์
ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร
พระมารดาหม่อมจิ๋ม สุประดิษฐ์ ณ อยุธยา

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าแก้วกัลยา สุประดิษฐ์; พ.ศ. 2392 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2456) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร กับหม่อมจิ๋ม สุประดิษฐ์ ณ อยุธยา และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระประวัติ

หม่อมราชวงศ์แก้วกัลยา สุประดิษฐ์ ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2392 ในสมัยรัชกาลที่ 3 ขณะนั้น พระบิดายังเป็น หม่อมเจ้าสุประดิษฐ์ โอรสในเจ้าฟ้ามงกุฎ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 จึงได้เป็น หม่อมเจ้า ชั้นหลานหลวง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงชุบเลี้ยงหม่อมเจ้าแก้วกัลยาคล้ายกับพระเจ้าลูกเธอในพระองค์ ถึงกับโปรดเกล้าฯ ให้เข้าแห่ต่อท้ายกระบวนแห่โสกันต์พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี และพระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประภัศรด้วย

ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ทรงรับราชการฝ่ายใน ทรงปฏิบัติเป็นพระอภิบาลในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งแต่เสด็จพระราชสมภพจนกระทั่งเจริญพระชนมพรรษาได้ 10 พรรษา ครั้นต่อมา ปี พ.ศ. 2456 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชหฤทัยรำลึกถึงคุณความดีของหม่อมเจ้าแก้วกัลยาที่ได้ทรงทำหน้าที่พระอภิบาลพระองค์มาโดยมิได้บกพร่อง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระอิสริยยศเป็น "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี"[1] ทรงศักดินา 3000

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี เสกสมรสกับหม่อมเจ้าเดช นพวงศ์ พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2456 ในรัชกาลที่ 6 พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดราชาธิวาส เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2457[2]

พระเกียรติยศ

พระอิสริยยศ

  • หม่อมเจ้าแก้วกัลยา สุประดิษฐ์ (พ.ศ. 2392 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456)
  • พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456 - ปัจจุบัน)

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร, ย้อนรอยราชสกุลวงศ์ วังหลวง, ดอกหญ้า, 2549, ISBN 974-941-205-2
  2. ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร. พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549. 360 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-221-818-8
  3. "พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 21 (32): 572. 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2447. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  4. "พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลปัตยุบัน ฝ่ายใน" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 27 (0ง): 3100. 19 มีนาคม พ.ศ. 2453. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)