ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลองคูเมืองเดิม"

พิกัด: 13°44′40″N 100°29′47″E / 13.744395°N 100.496417°E / 13.744395; 100.496417
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:คลองคูเมืองเดิม143.jpg|thumb|คลองคูเมืองเดิม]]
[[ไฟล์:คลองคูเมืองเดิม143.jpg|thumb|คลองคูเมืองเดิม]]
'''คลองคูเมืองเดิม''' บ้างเรียก '''คลองหลอด''' เป็น[[คลองขุด]]สายหนึ่งตั้งบน[[เกาะรัตนโกสินทร์]] [[กรุงเทพมหานคร]] เดิมเป็นคูเมืองที่[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ขุดเป็นคูเมืองด้านตะวันออกของกรุง[[ธนบุรี]] หลังการปราบดาภิเษกของ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] ทรงย้ายราชธานีไปยัง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] ทรงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ขุดคูเมืองขึ้นใหม่ ส่วนคลองคูเมืองเดิมได้กลายสภาพเป็นเส้นทางคมนาคมของประชาชนในพระนครแทน
'''คลองคูเมืองเดิม''' เป็น[[คลองขุด]]ที่[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]โปรดเกล้าฯ ให้ขุดขึ้นเป็นคูเมืองด้านตะวันออกของ[[กรุงธนบุรี]]ซึ่งกินอาณาเขตเลยมาทางด้านฝั่งพระนคร โดยโปรดฯ ให้ขุดคูเมืองออกแม่น้ำเจ้าพระยาทั้ง 2 ด้าน คือ ด้านเหนือที่[[ท่าช้างวังหน้า]] ด้านใต้ที่[[ปากคลองตลาด]] ดินจากการขุดคลองโปรดให้พูนขึ้นเป็นเชิงเทิน ตั้งค่ายไม้ทองหลางทั้งต้นตลองแนวคลองเพือป้องกันข้าศึก


== ประวัติ ==
เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]ทรงย้ายราชธานีมาอยู่ฝั่งพระนคร โปรดให้ขุดคูเมืองใหม่เพื่อขยายอาณาเขตราชธานี คลองคูเมืองเดิมจึงกลายเป็นเส้นทางคมนาคมของราษฎร ไม่ได้ใช้ประโยชน์เป็นคูเมืองอีกต่อไป
เป็น[[คลองขุด]]ที่[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]โปรดเกล้าฯ ให้ขุดขึ้นเป็นคูเมืองด้านตะวันออกของ[[กรุงธนบุรี]]ซึ่งกินอาณาเขตเลยมาทางด้านฝั่งพระนคร โดยโปรดฯ ให้ขุดคูเมืองออกแม่น้ำเจ้าพระยาทั้ง 2 ด้าน คือ ด้านเหนือที่[[ท่าช้างวังหน้า]] ด้านใต้ที่[[ปากคลองตลาด]] ดินจากการขุดคลองโปรดให้พูนขึ้นเป็นเชิงเทิน ตั้งค่ายไม้ทองหลางทั้งต้นตลองแนวคลองเพือป้องกันข้าศึก<ref name= "สนุก">{{cite web |url=http://travel.sanook.com/bangkok/bangkok_06962.php |title= ประวัติคลองคูเมืองเดิม |work=[[สนุกดอตคอม]] |author= สิริลักษณ์ จินตนะดิลกกุล |date= 14 กุมภาพันธ์ 2545 |publisher=|accessdate= 27 กรกฎาคม 2562}}</ref> เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]ทรงย้ายราชธานีมาอยู่ฝั่งพระนคร โปรดให้ขุดคูเมืองใหม่เพื่อขยายอาณาเขตราชธานี คลองคูเมืองเดิมจึงกลายเป็นเส้นทางคมนาคมของราษฎร ไม่ได้ใช้ประโยชน์เป็นคูเมืองอีกต่อไป<ref name= "สนุก"/>


ประชาชนเรียกชื่อคลองนี้ตามสถานที่ที่คลองผ่าน เช่น ปากคลองด้านเหนือผ่านโรงไหมหลวง เรียก "คลองโรงไหมหลวง" ปากคลองด้านใต้เป็นตลาดที่คึกคักทั้งบนบกและในน้ำ จึงเรียก "ปากคลองตลาด" ส่วนตอนกลางระหว่าง[[คลองหลอดวัดราชนัดดา]] ([[คลองหลอด]]ข้าง[[วัดบุรณศิริมาตยาราม]]) กับ[[คลองหลอดวัดราชบพิธ]] ได้มีประกาศของสุขาภิบาล ร.ศ. 127 ให้เรียกว่า "คลองหลอด" ซึ่งหมายถึงคลองที่อยู่ระหว่างคลองหลอดทั้งสอง แต่ภายหลังคนทั่วไปมักเรียกคลองนี้ตลอดสายว่า "คลองหลอด" ซึ่งผิดจากข้อเท็จจริง
ประชาชนเรียกชื่อคลองนี้ตามสถานที่ที่คลองผ่าน เช่น ปากคลองด้านเหนือผ่านโรงไหมหลวง เรียก "คลองโรงไหมหลวง" ปากคลองด้านใต้เป็นตลาดที่คึกคักทั้งบนบกและในน้ำ จึงเรียก "ปากคลองตลาด" ส่วนตอนกลางระหว่าง[[คลองหลอดวัดราชนัดดา]] ([[คลองหลอด]]ข้าง[[วัดบุรณศิริมาตยาราม]]) กับ[[คลองหลอดวัดราชบพิธ]] ได้มีประกาศของสุขาภิบาล ร.ศ. 127 ให้เรียกว่า "คลองหลอด" ซึ่งหมายถึงคลองที่อยู่ระหว่างคลองหลอดทั้งสอง แต่ภายหลังคนทั่วไปมักเรียกคลองนี้ตลอดสายว่า "คลองหลอด" ซึ่งผิดจากข้อเท็จจริง


เนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี รัฐบาลจึงมีมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ [[7 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2525]] ให้เรียกชื่อคลองให้ถูกต้องตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่า "คลองคูเมืองเดิม"
เนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี รัฐบาลจึงมีมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2525 ให้เรียกชื่อคลองให้ถูกต้องตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่า "คลองคูเมืองเดิม"

ตั้งแต่ พ.ศ. 2561 เป็นต้นมา [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้หน่วยราชการในพระองค์ หน่วยราชการอื่น ๆ และประชาชนจิตอาสาร่วมกันทำความสะอาด พัฒนา และปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสายต่าง ๆ รอบ[[เกาะรัตนโกสินทร์]] ซึ่งแต่เดิมมีคุณภาพน้ำเสื่อมโทรมมาก รวมทั้งมีปัญหา[[คนไร้บ้าน|คนเร่ร่อน]]และ[[โสเภณี]]ทำให้สภาพแลดูไม่เป็นระเบียบ<ref>{{cite web |url= https://www.matichon.co.th/local/quality-life/news_1212498 |title= สภากทม.เร่งปูแผนจัดการ ‘ขอทาน-คนไร้ที่พึ่ง-ค้าประเวณี’ ย่านคลองหลอด |author=|date= 5 พฤศจิกายน 2561 |work= มติชน |publisher=|accessdate= 27 กรกฎาคม 2562}}</ref> จึงมีการพัฒนาโดยมีการขุดลอกคลอง และผันน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยาเข้าคลอง ทำให้ปริมาณออกซิเจนในน้ำเพิ่มขึ้น ส่วนด้านภูมิทัศน์ได้มีการปรับปรุงทางเท้า ติดตั้งไฟส่องสว่าง<ref>{{cite web |url= https://www.banmuang.co.th/news/bangkok/152790 |title= ฟื้นคลองคูเมืองเดิม ฟื้นคืนเวนิสตะวันออก |author=|date= 4 มิถุนายน 2562 |work= บ้านเมือง |publisher=|accessdate= 27 กรกฎาคม 2562}}</ref> รวมทั้งตั้งพรรณไม้ใหญ่บางชนิดออกเพราะรากไม้นั้นจะทำลายแนวเขื่อน และทำการฟื้นฟูต้นขนุนซึ่งเป็นพรรณไม้ที่มีมาตั้งแต่รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]<ref>{{cite web |url= https://www.dailynews.co.th/bangkok/694145 |title= ตัด 'ต้นโพธิ์' ปลุก 'ต้นขนุน' ลุยฟื้นอัตลักษณ์คลองหลอด |author=|date= 20 กุมภาพันธ์ 2562 |work= เดลินิวส์ |publisher=|accessdate= 27 กรกฎาคม 2562}}</ref> ส่วนปัญหาคนเร่ร่อนได้ทำการช่วยเหลือนำส่งไปยังศูนย์คัดกรองช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส (บ้านอิ่มใจ)<ref>{{cite web |url= https://www.komchadluek.net/news/knowledge/355408 |title= จัดระเบียบ 'คลองหลอด' |author=|date= 12 ธันวาคม 2561 |work= ข่าวสด |publisher=|accessdate= 27 กรกฎาคม 2562}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* {{cite web|url=http://travel.sanook.com/bangkok/bangkok_06962.php|title= ประวัติคลองคูเมืองเดิม|work=[[สนุกดอตคอม]]}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:25, 27 กรกฎาคม 2562

คลองคูเมืองเดิม

คลองคูเมืองเดิม บ้างเรียก คลองหลอด เป็นคลองขุดสายหนึ่งตั้งบนเกาะรัตนโกสินทร์ กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นคูเมืองที่สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ขุดเป็นคูเมืองด้านตะวันออกของกรุงธนบุรี หลังการปราบดาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงย้ายราชธานีไปยังกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ขุดคูเมืองขึ้นใหม่ ส่วนคลองคูเมืองเดิมได้กลายสภาพเป็นเส้นทางคมนาคมของประชาชนในพระนครแทน

ประวัติ

เป็นคลองขุดที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ขุดขึ้นเป็นคูเมืองด้านตะวันออกของกรุงธนบุรีซึ่งกินอาณาเขตเลยมาทางด้านฝั่งพระนคร โดยโปรดฯ ให้ขุดคูเมืองออกแม่น้ำเจ้าพระยาทั้ง 2 ด้าน คือ ด้านเหนือที่ท่าช้างวังหน้า ด้านใต้ที่ปากคลองตลาด ดินจากการขุดคลองโปรดให้พูนขึ้นเป็นเชิงเทิน ตั้งค่ายไม้ทองหลางทั้งต้นตลองแนวคลองเพือป้องกันข้าศึก[1] เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงย้ายราชธานีมาอยู่ฝั่งพระนคร โปรดให้ขุดคูเมืองใหม่เพื่อขยายอาณาเขตราชธานี คลองคูเมืองเดิมจึงกลายเป็นเส้นทางคมนาคมของราษฎร ไม่ได้ใช้ประโยชน์เป็นคูเมืองอีกต่อไป[1]

ประชาชนเรียกชื่อคลองนี้ตามสถานที่ที่คลองผ่าน เช่น ปากคลองด้านเหนือผ่านโรงไหมหลวง เรียก "คลองโรงไหมหลวง" ปากคลองด้านใต้เป็นตลาดที่คึกคักทั้งบนบกและในน้ำ จึงเรียก "ปากคลองตลาด" ส่วนตอนกลางระหว่างคลองหลอดวัดราชนัดดา (คลองหลอดข้างวัดบุรณศิริมาตยาราม) กับคลองหลอดวัดราชบพิธ ได้มีประกาศของสุขาภิบาล ร.ศ. 127 ให้เรียกว่า "คลองหลอด" ซึ่งหมายถึงคลองที่อยู่ระหว่างคลองหลอดทั้งสอง แต่ภายหลังคนทั่วไปมักเรียกคลองนี้ตลอดสายว่า "คลองหลอด" ซึ่งผิดจากข้อเท็จจริง

เนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี รัฐบาลจึงมีมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2525 ให้เรียกชื่อคลองให้ถูกต้องตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่า "คลองคูเมืองเดิม"

ตั้งแต่ พ.ศ. 2561 เป็นต้นมา พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้หน่วยราชการในพระองค์ หน่วยราชการอื่น ๆ และประชาชนจิตอาสาร่วมกันทำความสะอาด พัฒนา และปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสายต่าง ๆ รอบเกาะรัตนโกสินทร์ ซึ่งแต่เดิมมีคุณภาพน้ำเสื่อมโทรมมาก รวมทั้งมีปัญหาคนเร่ร่อนและโสเภณีทำให้สภาพแลดูไม่เป็นระเบียบ[2] จึงมีการพัฒนาโดยมีการขุดลอกคลอง และผันน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยาเข้าคลอง ทำให้ปริมาณออกซิเจนในน้ำเพิ่มขึ้น ส่วนด้านภูมิทัศน์ได้มีการปรับปรุงทางเท้า ติดตั้งไฟส่องสว่าง[3] รวมทั้งตั้งพรรณไม้ใหญ่บางชนิดออกเพราะรากไม้นั้นจะทำลายแนวเขื่อน และทำการฟื้นฟูต้นขนุนซึ่งเป็นพรรณไม้ที่มีมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว[4] ส่วนปัญหาคนเร่ร่อนได้ทำการช่วยเหลือนำส่งไปยังศูนย์คัดกรองช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส (บ้านอิ่มใจ)[5]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 สิริลักษณ์ จินตนะดิลกกุล (14 กุมภาพันธ์ 2545). "ประวัติคลองคูเมืองเดิม". สนุกดอตคอม. สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. "สภากทม.เร่งปูแผนจัดการ 'ขอทาน-คนไร้ที่พึ่ง-ค้าประเวณี' ย่านคลองหลอด". มติชน. 5 พฤศจิกายน 2561. สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. "ฟื้นคลองคูเมืองเดิม ฟื้นคืนเวนิสตะวันออก". บ้านเมือง. 4 มิถุนายน 2562. สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. "ตัด 'ต้นโพธิ์' ปลุก 'ต้นขนุน' ลุยฟื้นอัตลักษณ์คลองหลอด". เดลินิวส์. 20 กุมภาพันธ์ 2562. สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. "จัดระเบียบ 'คลองหลอด'". ข่าวสด. 12 ธันวาคม 2561. สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

13°44′40″N 100°29′47″E / 13.744395°N 100.496417°E / 13.744395; 100.496417