ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โยฮันเนิส เค็พเพลอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
.
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 171.97.1.43 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Sry85
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
|field = [[นักดาราศาสตร์]] [[นักโหราศาสตร์]] และ[[นักคณิตศาสตร์]]
|field = [[นักดาราศาสตร์]] [[นักโหราศาสตร์]] และ[[นักคณิตศาสตร์]]
|nationality = ชาวเยอรมัน
|nationality = ชาวเยอรมัน
|country = เยอรมัน.
|country = เยอรมัน
|ethnicity = ชาวเยอรมัน
|ethnicity = ชาวเยอรมัน
|known_for = [[กฎของเคปเลอร์]]
|known_for = [[กฎของเคปเลอร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:04, 18 มิถุนายน 2562

โยฮันเนส เคปเลอร์
โยฮันเนส เคปเลอร์
เกิด27 ธันวาคม ค.ศ. 1571(1571-12-27)
ไวล์ แดร์ ชตัดท์ ใกล้ ชตุทท์การ์ท ประเทศเยอรมนี
เสียชีวิตพฤศจิกายน 15, 1630(1630-11-15) (58 ปี)
เรเก้นสบวร์ก บาวาเรีย ประเทศเยอรมนี
สัญชาติชาวเยอรมัน
การศึกษามหาวิทยาลัยแห่งทือบิงเงน
มีชื่อเสียงจากกฎของเคปเลอร์
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขานักดาราศาสตร์ นักโหราศาสตร์ และนักคณิตศาสตร์

โยฮันเนส เคปเลอร์ (อังกฤษ: Johannes Kepler; 27 ธันวาคม ค.ศ. 1571 - 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1630) นักดาราศาสตร์ นักโหราศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ผู้มีส่วนสำคัญในการปฏิวัติวงการวิทยาศาสตร์ เขาค้นพบกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ในงาน Astronomia nova, Harmonice Mundi ของเขา และได้แต่งหนังสือชื่อ Epitome of Copernican Astronomy

โยฮันเนส เคปเลอร์ ประกอบอาชีพเป็นครูสอนคณิตศาสตร์ที่โรงเรียน Graz (ภายหลังเปลี่ยนเป็น มหาวิทยาลัย Graz) และเป็นผู้ช่วยของ ไทโค บราเฮ นักคณิตศาสตร์ในความอุปถัมภ์ของจักรพรรดิรูดอร์ฟที่ 2 ผู้ซึ่งรวบรวมรวมข้อมูลของดาวเคราะห์มาตลอดชีวิต และปูทางให้เคปเลอร์ค้นพบกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ในเวลาต่อมา เขาทำงานด้านทัศนศาสตร์ และช่วยสนับสนุนการค้นพบกล้องโทรทรรศน์ของกาลิเลโอ กาลิเลอี

เขาถูกยกย่องว่าเป็น "นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ทฤษฎีคนแรก" แต่คาร์ล ซาแกน ยกย่องเขาในฐานะ "นักโหราศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์คนสุดท้าย"

กฎของเคปเลอร์

  1. กฎแห่งวงรี: ดาวเคราะห์โคจรเป็นรูปวงรีรอบดวงอาทิตย์ โดยมีดวงอาทิตย์อยู่ที่จุดโฟกัสจุดหนึ่ง
  2. กฎแห่งการกวาดพื้นที่: ในเวลาที่เท่ากันดาวเคราะห์จะมีพื้นที่ที่เส้นรัศมีจากดวงอาทิตย์ถึงดาวเคราะห์กวาดไปเท่ากัน หรือ dA/dt มีค่าคงที่
  3. กฎแห่งคาบ: คาบในการโคจรรอบดวงอาทิตย์กำลังสองแปรผันตรงกับระยะครึ่งแกนเอกของวงโคจรกำลังสาม

แหล่งข้อมูลอื่น