ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดเศวตฉัตรวรวิหาร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''วัดเศวตฉัตรวรวิหาร''' เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่บน[[ถนนเจริญนคร]] ติดกับ[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ใน[[เขตคลองสาน]] [[กรุงเทพมหานคร]] เดิมชื่อ ''วัดบางลำพูล่าง'' สันนิษฐานว่าก่อสร้างขึ้นตั้งแต่[[สมัยอยุธยา]] ต่อมาอยู่ในสภาพทรุดโทรมและได้รับการบูรณะครั้งใหญ่โดย[[พระเจ้าอัยกาเธอกรมหมื่นสุรินทรรักษ์]] พระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]มหาราช ผู้ทรงเป็นต้นสกุล[[ฉัตรกุล]] ในช่วงปี พ.ศ. 2359 - 2373 ต่อมาได้รับการปฏิสังขรณ์โดย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ซึ่งต่อมาได้พระราชทานชื่อวัดใหม่ว่า ''วัดเศวตฉัตร''
'''วัดเศวตฉัตรวรวิหาร''' เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่บน[[ถนนเจริญนคร]] ติดกับ[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ใน[[เขตคลองสาน]] [[กรุงเทพมหานคร]] เดิมชื่อ ''วัดบางลำพูล่าง'' สันนิษฐานว่าก่อสร้างขึ้นตั้งแต่[[สมัยอยุธยา]] ต่อมาอยู่ในสภาพทรุดโทรมและได้รับการบูรณะครั้งใหญ่โดย[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสุรินทรรักษ์]] (ในขณะนั้นพระนามว่าพระเจ้าอัยกาเธอ กรมหมื่นสุรินทรรักษ์) พระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]มหาราช ผู้ทรงเป็นต้นราชสกุล[[ฉัตรกุล]] ในช่วงปี พ.ศ. 2359 - 2373 ต่อมาได้รับการปฏิสังขรณ์โดย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ซึ่งต่อมาได้พระราชทานชื่อวัดใหม่ว่า ''วัดเศวตฉัตร''


เดิมวัดบางลำภูล่าง มีเพียงพระอุโบสถเก่าซึ่งอยู่ริมตลิ่งแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งตื้นเขินเต็มที [[พระเจ้าอัยกาเธอกรมหมื่นสุรินทรรักษ์]]จึงได้ทรงยกวัดออกไปสร้างใหม่ ในตำแหน่งวัดปัจจุบัร โดยโปรดให้รื้อพระตำหนักส่วนพระองค์สร้างเป็นถาวรวัตถุของวัดแทน<ref>https://sites.google.com/site/allthaitemple/wad-sewtchatr-rach-wrmhawihar</ref>
เดิมวัดบางลำภูล่าง มีเพียงพระอุโบสถเก่าซึ่งอยู่ริมตลิ่งแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งตื้นเขินเต็มที [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสุรินทรรักษ์]]จึงได้ทรงยกวัดออกไปสร้างใหม่ ในตำแหน่งวัดปัจจุบัร โดยโปรดให้รื้อพระตำหนักส่วนพระองค์สร้างเป็นถาวรวัตถุของวัดแทน<ref>https://sites.google.com/site/allthaitemple/wad-sewtchatr-rach-wrmhawihar</ref>


ฝั่งตรงข้ามถนนเจริญนครเป็นวัดอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งเป็นพระอุโบสถหลังเดิมที่ประดิษฐาน '''พระพุทธสมาธิคุณสุนทรสมาทานบุราณสุคต''' หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า '''หลวงพ่อโบสถ์บน''' พระพุทธรูปปางสมาธิ ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง แต่เชื่อกันว่าสร้างโดยสานไม้ไผ่หล่อปูนตามแบบโบราณ<ref>http://www.resource.lib.su.ac.th/web-temple/index.php?option=com_content&view=article&id=48&Itemid=45</ref>
ฝั่งตรงข้ามถนนเจริญนครเป็นวัดอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งเป็นพระอุโบสถหลังเดิมที่ประดิษฐาน พระพุทธสมาธิคุณสุนทรสมาทานบุราณสุคต หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า หลวงพ่อโบสถ์บน พระพุทธรูปปางสมาธิ ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง แต่เชื่อกันว่าสร้างโดยสานไม้ไผ่หล่อปูนตามแบบโบราณ<ref>http://www.resource.lib.su.ac.th/web-temple/index.php?option=com_content&view=article&id=48&Itemid=45</ref>


ภายในพระอุโบสถหลังปัจจุบันประดิษฐาน '''พระพุทธอังคีรสมุนีนารถอุรคอาสน์อำไพ''' พระพุทธรูป[[ปางนาคปรก]] สร้างโดยรูปแบบพระหล่อ บริเวณฐานชุกชีเบื้องหลังพระประธานบรรจุอัฐิผู้สืบสกุลของพระองค์เจ้าฉัตร ได้แก่ ด้านซ้าย ปรากฏจารึกพระนาม [[จอมพลเจ้าพระยาบดินทร์เดชานุชิต]] (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) อดีตผู้บัญชาการ[[โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]] ส่วนด้านขวาปรากฏจารึพระนาม “ฉัตรกุล สายหม่อมเจ้ากลาง” นอกจากนี้ในพระอุโบสถยังประดิษฐาน '''พระพุทธมารวิชัยอภัยปรปักษ์อัครวิบูล''' พระพุทธรูป[[ปางมารวิชัย]]
ภายในพระอุโบสถหลังปัจจุบันประดิษฐาน พระพุทธอังคีรสมุนีนารถอุรคอาสน์อำไพ พระพุทธรูป[[ปางนาคปรก]] สร้างโดยรูปแบบพระหล่อ บริเวณฐานชุกชีเบื้องหลังพระประธานบรรจุอัฐิผู้สืบสกุลของพระองค์เจ้าฉัตร ได้แก่ ด้านซ้าย ปรากฏจารึกพระนาม จอมพล [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสุรินทรรักษ์]] (อรุณ ฉัตรกุล) อดีตผู้บัญชาการ[[โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]] ส่วนด้านขวาปรากฏจารึกพระนาม “ฉัตรกุล สายหม่อมเจ้ากลาง” นอกจากนี้ในพระอุโบสถยังประดิษฐาน พระพุทธมารวิชัยอภัยปรปักษ์อัครวิบูล พระพุทธรูป[[ปางมารวิชัย]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:01, 3 มกราคม 2562

วัดเศวตฉัตรวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่บนถนนเจริญนคร ติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา ในเขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร เดิมชื่อ วัดบางลำพูล่าง สันนิษฐานว่าก่อสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยอยุธยา ต่อมาอยู่ในสภาพทรุดโทรมและได้รับการบูรณะครั้งใหญ่โดยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสุรินทรรักษ์ (ในขณะนั้นพระนามว่าพระเจ้าอัยกาเธอ กรมหมื่นสุรินทรรักษ์) พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ผู้ทรงเป็นต้นราชสกุลฉัตรกุล ในช่วงปี พ.ศ. 2359 - 2373 ต่อมาได้รับการปฏิสังขรณ์โดยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งต่อมาได้พระราชทานชื่อวัดใหม่ว่า วัดเศวตฉัตร

เดิมวัดบางลำภูล่าง มีเพียงพระอุโบสถเก่าซึ่งอยู่ริมตลิ่งแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งตื้นเขินเต็มที พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสุรินทรรักษ์จึงได้ทรงยกวัดออกไปสร้างใหม่ ในตำแหน่งวัดปัจจุบัร โดยโปรดให้รื้อพระตำหนักส่วนพระองค์สร้างเป็นถาวรวัตถุของวัดแทน[1]

ฝั่งตรงข้ามถนนเจริญนครเป็นวัดอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งเป็นพระอุโบสถหลังเดิมที่ประดิษฐาน พระพุทธสมาธิคุณสุนทรสมาทานบุราณสุคต หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า หลวงพ่อโบสถ์บน พระพุทธรูปปางสมาธิ ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง แต่เชื่อกันว่าสร้างโดยสานไม้ไผ่หล่อปูนตามแบบโบราณ[2]

ภายในพระอุโบสถหลังปัจจุบันประดิษฐาน พระพุทธอังคีรสมุนีนารถอุรคอาสน์อำไพ พระพุทธรูปปางนาคปรก สร้างโดยรูปแบบพระหล่อ บริเวณฐานชุกชีเบื้องหลังพระประธานบรรจุอัฐิผู้สืบสกุลของพระองค์เจ้าฉัตร ได้แก่ ด้านซ้าย ปรากฏจารึกพระนาม จอมพล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสุรินทรรักษ์ (อรุณ ฉัตรกุล) อดีตผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ส่วนด้านขวาปรากฏจารึกพระนาม “ฉัตรกุล สายหม่อมเจ้ากลาง” นอกจากนี้ในพระอุโบสถยังประดิษฐาน พระพุทธมารวิชัยอภัยปรปักษ์อัครวิบูล พระพุทธรูปปางมารวิชัย

อ้างอิง