ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัมเบรียล (ดาวบริวาร)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anarchy34 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:PIA00040 Umbrielx2.47.jpg|200px|right|thumb|อัมเบรียลถ่ายจากยานวอยเอจเจอร์ 2 ในปี [[ค.ศ. 1986|1986]] ]]
[[ไฟล์:PIA00040 Umbrielx2.47.jpg|200px|right|thumb|อัมเบรียลถ่ายจากยานวอยเอจเจอร์ 2 ในปี [[ค.ศ. 1986|1986]] ]]
'''อัมเบรียล''' ({{lang-en|Umbriel}}) เป็น[[ดาวบริวารของดาวยูเรนัส|ดาวบริวาร]]ลำดับที่ 16 นับตามระยะทางจาก[[ดาวยูเรนัส]] ถูกค้นพบเมื่อ วันที่ 24 ตุลาคม [[พ.ศ. 2529|1986]]โดย วิลเลียม ลาสเซลล์ อัมเบรียล ถูกค้นพบในเวลาเดียวกันกับแอเรียลและชื่อก็มีที่มาจากที่เดียวกัน คือ จากเรื่อง ''The Rape of the rock'' ของ อเล็กซานเดอร์ โป๊ป อัมเบรียลมีส่วนประกอบของ[[น้ำแข็ง]]ที่อยู๋ในรูปของ[[หิน]]และอาจจะมีความแตกต่างเป็นหิน[[หลัก]]และ[[น้ำแข็ง]]ปกคลุม อัมเบรียล เป็น[[ดาวบริวารของดาวยูเรนัส|ดาวบริวาร]]ที่มืดที่สุดในดาวบริวารทั้งหมดของดาวยูเรนัสและดูเหมือนว่าอัมเบรียลจะมีเป็นรูปร่างโดยการชนกับอุกกาบาต แต่การเกิดของ[[หุบเขา]]ชี้ให้เห็นว่า มีกระบวนการ [[เอนโดจีนิก]] (endogenic) และ ดวงจันทร์นี้อาจจะประสบกับการเปลี่ยนพื้นผิวของดวงจันทร์ใหม่ (resurfacing)
'''อัมเบรียล''' ({{lang-en|Umbriel}}) เป็น[[ดาวบริวารของดาวยูเรนัส|ด้าวบริวารของเราเองเราก็ต้องได้รับผลประโยชน์ของน้ำหนักได้]]ลำดับที่ 16 นับตามระยะทางจาก[[ดาวยูเรนัส]] ถูกค้นพบเมื่อ วันที่ 24 ตุลาคม [[พ.ศ. 2529|1986]]โดย วิลเลียม ลาสเซลล์ อัมเบรียล ถูกค้นพบในเวลาเดียวกันกับแอเรียลและชื่อก็มีที่มาจากที่เดียวกัน คือ จากเรื่อง ''The Rape of the rock'' ของ อเล็กซานเดอร์ โป๊ป อัมเบรียลมีส่วนประกอบของ[[น้ำแข็ง]]ที่อยู๋ในรูปของ[[หิน]]และอาจจะมีความแตกต่างเป็นหิน[[หลัก]]และ[[น้ำแข็ง]]ปกคลุม อัมเบรียล เป็น[[ดาวบริวารของดาวยูเรนัส|ดาวบริวาร]]ที่มืดที่สุดในดาวบริวารทั้งหมดของดาวยูเรนัสและดูเหมือนว่าอัมเบรียลจะมีเป็นรูปร่างโดยการชนกับอุกกาบาต แต่การเกิดของ[[หุบเขา]]ชี้ให้เห็นว่า มีกระบวนการ [[เอนโดจีนิก]] (endogenic) และ ดวงจันทร์นี้อาจจะประสบกับการเปลี่ยนพื้นผิวของดวงจันทร์ใหม่ (resurfacing)


พื้นผิวของอัมเบรียล มี[[หลุมอุกกาบาต]]ที่มีขนาด 210 กิโลเมตร หรือ 130 ไมล์ อัมเบรียลเป็นดาวบริวารที่มีหลุมอุกกาบาตมากเป็นอันดับ 2 รองจากโอเบอรอน อัมเบรียลมีปล่อง[[ภูเขาไฟ]]ที่มีลักษณะคล้าย[[วงแหวน]] ที่ขั้วของดาว ปล่องภูเขาไฟนี้มีชื่อว่า วุนดา (Wunda) ดาวบริวารนี้มีการเกิดที่เหมือนกับดาวบริวารดวงอื่นๆ โดยเกิดจาก[[จานพอกพูนมวล]]ที่ล้อมรอบดาวเคราะห์ทำให้เกิดดาวบริวารขึ้นมา ระบบของดาวยูเรนัส ถูกศึกษาอย่างใกล้ชิดเพียงครั้งเดียวโดยยาน[[วอยเอจเจอร์ 2]] ในเดือน[[มกราคม]] [[พ.ศ. 2529|1986]] ซึ่งต้องใช้เวลาในการถ่ายภาพบนดาวบริวารดวงนี้ และจากภาพทำให้สามารถทำแผนที่ได้ 40% ของผิวดาว
พื้นผิวของอัมเบรียล มี[[หลุมอุกกาบาต]]ที่มีขนาด 210 กิโลเมตร หรือ 130 ไมล์ อัมเบรียลเป็นดาวบริวารที่มีหลุมอุกกาบาตมากเป็นอันดับ 2 รองจากโอเบอรอน อัมเบรียลมีปล่อง[[ภูเขาไฟ]]ที่มีลักษณะคล้าย[[วงแหวน]] ที่ขั้วของดาว ปล่องภูเขาไฟนี้มีชื่อว่า วุนดา (Wunda) ดาวบริวารนี้มีการเกิดที่เหมือนกับดาวบริวารดวงอื่นๆ โดยเกิดจาก[[จานพอกพูนมวล]]ที่ล้อมรอบดาวเคราะห์ทำให้เกิดดาวบริวารขึ้นมา ระบบของดาวยูเรนัส ถูกศึกษาอย่างใกล้ชิดเพียงครั้งเดียวโดยยาน[[วอยเอจเจอร์ 2]] ในเดือน[[มกราคม]] [[พ.ศ. 2529|1986]] ซึ่งต้องใช้เวลาในการถ่ายภาพบนดาวบริวารดวงนี้ และจากภาพทำให้สามารถทำแผนที่ได้ 40% ของผิวดาว

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:15, 20 กันยายน 2561

อัมเบรียลถ่ายจากยานวอยเอจเจอร์ 2 ในปี 1986

อัมเบรียล (อังกฤษ: Umbriel) เป็นด้าวบริวารของเราเองเราก็ต้องได้รับผลประโยชน์ของน้ำหนักได้ลำดับที่ 16 นับตามระยะทางจากดาวยูเรนัส ถูกค้นพบเมื่อ วันที่ 24 ตุลาคม 1986โดย วิลเลียม ลาสเซลล์ อัมเบรียล ถูกค้นพบในเวลาเดียวกันกับแอเรียลและชื่อก็มีที่มาจากที่เดียวกัน คือ จากเรื่อง The Rape of the rock ของ อเล็กซานเดอร์ โป๊ป อัมเบรียลมีส่วนประกอบของน้ำแข็งที่อยู๋ในรูปของหินและอาจจะมีความแตกต่างเป็นหินหลักและน้ำแข็งปกคลุม อัมเบรียล เป็นดาวบริวารที่มืดที่สุดในดาวบริวารทั้งหมดของดาวยูเรนัสและดูเหมือนว่าอัมเบรียลจะมีเป็นรูปร่างโดยการชนกับอุกกาบาต แต่การเกิดของหุบเขาชี้ให้เห็นว่า มีกระบวนการ เอนโดจีนิก (endogenic) และ ดวงจันทร์นี้อาจจะประสบกับการเปลี่ยนพื้นผิวของดวงจันทร์ใหม่ (resurfacing)

พื้นผิวของอัมเบรียล มีหลุมอุกกาบาตที่มีขนาด 210 กิโลเมตร หรือ 130 ไมล์ อัมเบรียลเป็นดาวบริวารที่มีหลุมอุกกาบาตมากเป็นอันดับ 2 รองจากโอเบอรอน อัมเบรียลมีปล่องภูเขาไฟที่มีลักษณะคล้ายวงแหวน ที่ขั้วของดาว ปล่องภูเขาไฟนี้มีชื่อว่า วุนดา (Wunda) ดาวบริวารนี้มีการเกิดที่เหมือนกับดาวบริวารดวงอื่นๆ โดยเกิดจากจานพอกพูนมวลที่ล้อมรอบดาวเคราะห์ทำให้เกิดดาวบริวารขึ้นมา ระบบของดาวยูเรนัส ถูกศึกษาอย่างใกล้ชิดเพียงครั้งเดียวโดยยานวอยเอจเจอร์ 2 ในเดือนมกราคม 1986 ซึ่งต้องใช้เวลาในการถ่ายภาพบนดาวบริวารดวงนี้ และจากภาพทำให้สามารถทำแผนที่ได้ 40% ของผิวดาว

ชื่อและการค้นพบ

อัมเบรียลเหมือนกับดาวบริวารของดาวยูเรนัส แอเรียล ถูกค้นพบโดย วิลเลียม ลาสเซลล์ ในวันที่ 24 ตุลาคม 1851 แม้ว่า วิลเลียม เฮอร์เชล ผู้ค้นพบดาวบริวาร ทิทาเนีย และ โอเบอรอน อ้างว่าในตอนท้ายของศตวรรษที่ 18 ที่เขาสังเกตเห็นสี่ดวงจันทร์เพิ่มเติมของดาวยูเรนัส ข้อสังเกตของเขาไม่ได้รับการยืนยันและบรรดาสี่วัตถุที่กำลังคิดว่าตอนนี้จะถูกสร้างขึ้นมา

วงโคจร

อัมเบรียลโคจรรอบดาวยูเรนัสที่ระยะห่าง 266,000 กิโลเมตร (165,000 ไมล์) มีระยะห่างจากดาวยูเรนัสเป็นอันดับ 3 ในบรรดาดวงจันทร์ 5 ดวงหลัก วงโคจรของอัมเบรียลมีความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจรน้อย และมีความเอียงของวงโคจรน้อยตามเส้นศูนย์สูตรของดาวยูเรนัส อัมเบรียลมีคาบดาราคติอยู่ที่ 4.144 วันโลก มีคาบการหมุนรอบตัวเองเท่ากับคาบดาราคติ

ดูเพิ่ม