ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GünniX (คุย | ส่วนร่วม)
ref name using AWB
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
|size= 2,000 ไร่
|size= 2,000 ไร่
|opened= [[พ.ศ. 2526]]
|opened= [[พ.ศ. 2526]]
|operator= [[องค์การสวนพฤกษศาสตร์]]</br>[[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]]
|operator= [[องค์การสวนพฤกษศาสตร์]]<br />[[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]]
|status=
|status=
|map=
|map=
บรรทัด 31: บรรทัด 31:
[[หมวดหมู่:สวนพฤกษศาสตร์|สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์]]
[[หมวดหมู่:สวนพฤกษศาสตร์|สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์]]
[[หมวดหมู่:จังหวัดเชียงใหม่]]
[[หมวดหมู่:จังหวัดเชียงใหม่]]
[[หมวดหมู่:สถานที่ที่ตั้งชื่อตามพระนามของพระบรมวงศานุวงศ์ไทย ]]
[[หมวดหมู่:สถานที่ที่ตั้งชื่อตามพระนามของพระบรมวงศานุวงศ์ไทย]]
[[หมวดหมู่:อำเภอแม่ริม]]
[[หมวดหมู่:อำเภอแม่ริม]]
[[หมวดหมู่:สิ่งแวดล้อมของประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:สิ่งแวดล้อมของประเทศไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:46, 18 ธันวาคม 2560

สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
ไฟล์:สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์.jpg
แผนที่
ประเภทสวนพฤกษศาสตร์
ที่ตั้งตำบลแม่สา อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
พื้นที่2,000 ไร่
เปิดตัวพ.ศ. 2526
ผู้ดำเนินการองค์การสวนพฤกษศาสตร์
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เป็นสวนพฤกษศาสตร์ ตั้งอยู่ที่อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2526 บนพื้นที่ 2,000 ไร่ ดำเนินการโดยกรมป่าไม้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 ได้โอนมาดำเนินงานโดยองค์การสวนพฤกษศาสตร์ (อสพ.) ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ ในความดูแลของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ประวัติ

สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2526 โดยกรมป่าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์[1] เดิมเรียกว่า "สวนพฤกษศาสตร์แม่สา" มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาวิจัยและให้ความรู้ทางด้านพฤกษศาสตร์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 จึงได้โอนมาจัดตั้งเป็นรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ครั้นเมื่อ พ.ศ. 2537 องค์การสวนพฤกษศาสตร์ได้รับพระราชทานพระราชานุญาตจาก สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ให้ใช้ชื่อสวนพฤกษศาสตร์แห่งนี้ว่า "สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์"

ในปี พ.ศ. 2558 สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ได้สร้างทางเดินลอยฟ้าเหนือเรือนยอดไม้ (Canopy Walks) ที่ยาวที่สุดในประเทศไทย ระยะทางประมาณ 400 เมตร และระดับความสูงประมาณ 20 เมตร[2]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น