ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยปารีส"

พิกัด: 48°50′55″N 2°20′34″E / 48.84861°N 2.34278°E / 48.84861; 2.34278
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox University
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Sorbonne DSC09369.jpg|thumb|250px|ตึกวิทยาลัยซอร์บอนน์ ของมหาวิทยาลัยปารีส ในฝรั่งเศส]]
|name = มหาวิทยาลัยปารีส
|native_name = Université de Paris
|image_name = file:Coat of arms of the ancient university of Paris.svg
|latin_name = Universitas magistrorum et scholarium Parisiensis
|motto = ''Hic et ubique terrarum'' ([[Latin]])
|mottoeng = Here and anywhere on Earth <br><small>(ที่นี่และทุกแห่งบนโลก)</small>
|established = ประมาณ ค.ศ. {{Start date|1150}}–1793,<br>1896
|closed = 1970
|type = [[สมาคมอาชีพ]] ประมาณ ค.ศ. 1150–1793,<br>[[มหาวิทยาลัยรัฐ|รัฐ]] ค.ศ. 1896–1970
|city = [[ปารีส]]
|country = [[ฝรั่งเศส]]
| coor = {{coord|48|50|55|N|2|20|34|E|region:FR-J_type:edu_source:kolossus-dewiki|display=inline,title}}
| nickname = เดอะ[[ซอร์บอนน์]]
|campus = เมือง
|pushpin_map_caption = The vicinity of the University in Paris
|pushpin_map = France Paris
}}


'''มหาวิทยาลัยปารีส''' ({{lang-fr|Université de Paris}}) หรือ[[นามนัย]]เป็นที่รู้จักกันว่า '''ซอร์บอนน์''' ({{IPA-fr|sɔʁbɔn|lang}}, บ้านประวัติศาสตร์) เป็น[[มหาวิทยาลัย]]ใน[[ปารีส]] [[ฝรั่งเศส]] ก่อตั้งประมาณ ค.ศ. 1150 จาก[[สมาคมอาชีพ]]ที่เกี่ยวข้องกับ[[โรงเรียนมหาวิหาร]]ของ[[มหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส]] มหาวิทยาลัยปารีสถือว่าเป็น[[รายชื่อมหาวิทยาลัยสมัยกลาง|มหาวิทยาลัยที่เก่าแก่เป็นอันดับสองของยุโรป]]<ref>[[Charles Homer Haskins|Haskins, C. H.]]: ''The Rise of Universities'', page 292. Henry Holt and Company, 1923.</ref> ได้ตรา[[กฎบัตร]]อย่างเป็นทางการใน ค.ศ. 1200 โดย[[พระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งฝรั่งเศส]] และได้รับการยอมรับใน ค.ศ. 1215 โดย[[สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 3]] มหาวิทยาลัยปารีสมีชื่อเล่นที่เรียกกันทั่วไปภายหลังการก่อตั้งสถาบันทาง[[เทววิทยา]]คือ[[วิทยาลัยซอร์บอนน์]]ซึ่งก่อตั้งใน ค.ศ. 1257 โดย[[รอแบร์ เดอ ซอร์บง]]และอนุญาตโดย[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส|นักบุญหลุยส์]] [[รายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส|กษัตริย์แห่งฝรั่งเศส]]
'''มหาวิทยาลัยปารีส''' ({{lang-fr|Université de Paris}}) หรือเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า '''Sorbonne'''ก่อตั้งในราวปี 1150 เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่เป็นอันดับสองของโลก รองจาก[[มหาวิทยาลัยโบโลญญา]]ใน[[ประเทศอิตาลี]] หลังจากก่อตั้งขึ้นมาเมื่อ[[คริสต์ศตวรรษที่ 12]] มหาวิทยาลัยปารีสก็มีชื่อเสียงและนักศึกษามากกว่ามหาวิทยาลัยโบโลญย่าเสียอีก แม้แต่ชาวอังกฤษก็ต้องไปเรียนที่ประเทศฝรั่งเศส ต่อมากษัตริย์อังกฤษและฝรั่งเศสทรงทะเลาะกัน กษัตริย์อังกฤษจึงห้ามมิให้ชาวอังกฤษไปเรียนที่ฝรั่งเศสอีก และได้พากันมารวมตัวก่อตั้ง [[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]] ขึ้นเป็นแห่งแรกในอังกฤษ


มหาวิทยาลัยปารีสมีชื่อเสียงอย่างมากในระดับนานาชาติเกี่ยวกับผลงานทางวิชาการในสาขา[[มนุษยศาสตร์]]นับตั้งแต่ยุคกลางโดยเฉพาะสาขา[[เทววิทยา]]และ[[ปรัชญา]] มหาวิทยาลัยมีมาตรฐานทางวิชาการที่หลากหลาย ประเพณีที่เคร่งครัดมาอย่างยาวนาน และแพร่หลายในระดับนานาชาติ ตัวอย่างเช่น ริเริ่มการสอน[[ดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)|ระดับดุษฎีบัณฑิต]] [[ชาติ (มหาวิทยาลัย)|การแบ่งนักศึกษาตามชาติ]] มี[[พระสันตะปาปา]] [[นักวิทยาศาสตร์]] [[ปัญญาชน]] และ[[ชนชั้นเจ้า]]จำนวนมากศึกษาที่มหาวิทยาลัยปารีส
ข้อแตกต่างอย่างสำคัญระหว่าง มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดและ[[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]] หรือเรียกรวมๆ ว่า 'ระบบ [[อ๊อกซบริดจ์]]' กับมหาวิทยาลัยปารีสในอดีต ก็คือระบบอ๊อกซบริดจ์จะเน้นประสิทธิภาพสูงสุดในการสอนโดยใช้ระบบติวเตอร์พร้อมๆ กับการวิจัย ทั้งสองอย่างนี้กระทำในเวลาเดียวกัน ระบบนี้ทำให้ครูอาจารย์ใกล้ชิดนักศึกษามากเป็นพิเศษ แต่มหาวิทยาลัยปารีส เน้นหนักด้านการทำวิจัยมากกว่า กล่าวคือใครมีวุฒิการศึกษาระดับม.ปลายที่ได้รับการยอมรับก็สมัครเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยปารีสได้ทั้งนั้น ครูอาจารย์จะเอาเวลาส่วนใหญ่ไปทำการค้นคว้าวิจัย ดังนั้น จึงมีเวลาคุยกับนักศึกษาน้อยมาก


หลังจากความวุ่นวายของ[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]] การศึกษาถูกระงับใน ค.ศ. 1793 หลังจากนั้นคณะต่าง ๆ ได้รับการปรับโครงสร้างบางส่วนโดย[[จักรพรรดินโปเลียนที่ 1|นโปเลียน]]และเปลี่ยนเป็น[[มหาวิทยาลัยฝรั่งเศส]] ใน ค.ศ. 1896 มหาวิทยาลัยถูกเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็นมหาวิทยาลัยปารีส
ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยปารีสนั้น ได้รับความสนใจจากบรรดานักศึกษาจากทั่วทุกมุมโลก อาจเนื่องมาจากมีค่าเล่าเรียนที่ไม่แพงนัก เมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา ภาวะการแข่งขันเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปารีสจึงมีอัตราค่อนข้างสูง และโดยปกติแล้ว นักศึกษาที่จะเข้าเรียนต้องยื่นผลสอบวัดระดับความรู้ภาษาฝรั่งเศสในขั้นสูง


ใน ค.ศ. 1970 หลังจาก[[เหตุการณ์เดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1986]] มหาวิทยาลัยถูกแบ่งออกเป็น 13 มหาวิทยาลัยอิสระ มหาวิทยาลัยใหม่บางแห่งได้ควบรวมคณะเก่าแก่ต่าง ๆ รวมถึงอาจารย์ส่วนใหญ่ของแต่ละคณะ โดยสาขา[[มนุษยศาสตร์]]จัดตั้งเป็น[[มหาวิทยาลัยปารีส-ซอร์บอนน์]] และ[[ซอร์บอนน์นูแวลล์]] สาขา[[กฎหมาย]]จัดตั้งเป็น[[มหาวิทยาลัยปงเตอง-อัสแซส]] สาขา[[แพทยศาสตร์]]จัดตั้งเป็น[[มหาวิทยาลัยปารีสเดการ์ต]] และสาขา[[วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ]]จัดตั้งเป็น[[มหาวิทยาลัยปีแยร์และมารี กูว์รี]]และ[[มหาวิทยาลัยปารีสดีเดอโร]] มหาวิทยาลัยอื่น ๆ เช่น [[มหาวิทยาลัยปงเตอง-ซอร์บอนน์]]เลือกที่จะเป็นพหุวิทยาการ
ดังนั้น เมื่อกอร์แมน (Gourman's Report) ได้พยายามสำรวจผลการวิจัยของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วโลก ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยปารีสมีผลงานวิจัยผลิตมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งของโลก รองลงมาคือ [[มหาวิทยาลัยมอสโกสเตท]] ของ [[ประเทศรัสเซีย]]

ในทศวรรษที่ 2010 มหาวิทยาลัยปารีสทั้งสิบสามได้จัดตั้งเครือข่ายพันธมิตรที่แตกต่างกันเจ็ดกลุ่มเพื่อรักษาระดับมาตรฐานต่าง ๆ ที่สืบทอดมาจากมหาวิทยาลัยปารีส เช่น [[มหาวิทยาลัยซอร์บอนน์ (กลุ่มพันธมิตร)]]

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในประเทศฝรั่งเศส|ปารีส]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในประเทศฝรั่งเศส|ปารีส]]
[[หมวดหมู่:ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 13]]
[[หมวดหมู่:ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 13]]
{{โครงสถานศึกษา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:40, 5 สิงหาคม 2560

มหาวิทยาลัยปารีส
Université de Paris
ละติน: Universitas magistrorum et scholarium Parisiensis
คติพจน์Hic et ubique terrarum (Latin)
คติพจน์อังกฤษ
Here and anywhere on Earth
(ที่นี่และทุกแห่งบนโลก)
ประเภทสมาคมอาชีพ ประมาณ ค.ศ. 1150–1793,
รัฐ ค.ศ. 1896–1970
ดำเนินงานประมาณ ค.ศ. ค.ศ. 1150 (1150)–1793,
1896–1970
ที่ตั้ง,
48°50′55″N 2°20′34″E / 48.84861°N 2.34278°E / 48.84861; 2.34278
วิทยาเขตเมือง
ฉายาเดอะซอร์บอนน์
มหาวิทยาลัยปารีสตั้งอยู่ในปารีส
มหาวิทยาลัยปารีส
The vicinity of the University in Paris

มหาวิทยาลัยปารีส (ฝรั่งเศส: Université de Paris) หรือนามนัยเป็นที่รู้จักกันว่า ซอร์บอนน์ (ภาษาฝรั่งเศส: [sɔʁbɔn], บ้านประวัติศาสตร์) เป็นมหาวิทยาลัยในปารีส ฝรั่งเศส ก่อตั้งประมาณ ค.ศ. 1150 จากสมาคมอาชีพที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียนมหาวิหารของมหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส มหาวิทยาลัยปารีสถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่เป็นอันดับสองของยุโรป[1] ได้ตรากฎบัตรอย่างเป็นทางการใน ค.ศ. 1200 โดยพระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งฝรั่งเศส และได้รับการยอมรับใน ค.ศ. 1215 โดยสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 3 มหาวิทยาลัยปารีสมีชื่อเล่นที่เรียกกันทั่วไปภายหลังการก่อตั้งสถาบันทางเทววิทยาคือวิทยาลัยซอร์บอนน์ซึ่งก่อตั้งใน ค.ศ. 1257 โดยรอแบร์ เดอ ซอร์บงและอนุญาตโดยนักบุญหลุยส์ กษัตริย์แห่งฝรั่งเศส

มหาวิทยาลัยปารีสมีชื่อเสียงอย่างมากในระดับนานาชาติเกี่ยวกับผลงานทางวิชาการในสาขามนุษยศาสตร์นับตั้งแต่ยุคกลางโดยเฉพาะสาขาเทววิทยาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมีมาตรฐานทางวิชาการที่หลากหลาย ประเพณีที่เคร่งครัดมาอย่างยาวนาน และแพร่หลายในระดับนานาชาติ ตัวอย่างเช่น ริเริ่มการสอนระดับดุษฎีบัณฑิต การแบ่งนักศึกษาตามชาติ มีพระสันตะปาปา นักวิทยาศาสตร์ ปัญญาชน และชนชั้นเจ้าจำนวนมากศึกษาที่มหาวิทยาลัยปารีส

หลังจากความวุ่นวายของการปฏิวัติฝรั่งเศส การศึกษาถูกระงับใน ค.ศ. 1793 หลังจากนั้นคณะต่าง ๆ ได้รับการปรับโครงสร้างบางส่วนโดยนโปเลียนและเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยฝรั่งเศส ใน ค.ศ. 1896 มหาวิทยาลัยถูกเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็นมหาวิทยาลัยปารีส

ใน ค.ศ. 1970 หลังจากเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1986 มหาวิทยาลัยถูกแบ่งออกเป็น 13 มหาวิทยาลัยอิสระ มหาวิทยาลัยใหม่บางแห่งได้ควบรวมคณะเก่าแก่ต่าง ๆ รวมถึงอาจารย์ส่วนใหญ่ของแต่ละคณะ โดยสาขามนุษยศาสตร์จัดตั้งเป็นมหาวิทยาลัยปารีส-ซอร์บอนน์ และซอร์บอนน์นูแวลล์ สาขากฎหมายจัดตั้งเป็นมหาวิทยาลัยปงเตอง-อัสแซส สาขาแพทยศาสตร์จัดตั้งเป็นมหาวิทยาลัยปารีสเดการ์ต และสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติจัดตั้งเป็นมหาวิทยาลัยปีแยร์และมารี กูว์รีและมหาวิทยาลัยปารีสดีเดอโร มหาวิทยาลัยอื่น ๆ เช่น มหาวิทยาลัยปงเตอง-ซอร์บอนน์เลือกที่จะเป็นพหุวิทยาการ

ในทศวรรษที่ 2010 มหาวิทยาลัยปารีสทั้งสิบสามได้จัดตั้งเครือข่ายพันธมิตรที่แตกต่างกันเจ็ดกลุ่มเพื่อรักษาระดับมาตรฐานต่าง ๆ ที่สืบทอดมาจากมหาวิทยาลัยปารีส เช่น มหาวิทยาลัยซอร์บอนน์ (กลุ่มพันธมิตร)

อ้างอิง

  1. Haskins, C. H.: The Rise of Universities, page 292. Henry Holt and Company, 1923.