ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขื่อนขุนด่านปราการชล"

พิกัด: 14°18′47″N 101°19′16″E / 14.313°N 101.321°E / 14.313; 101.321
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
| extra =
| extra =
}}
}}
'''เขื่อนขุนด่านปราการชล''' ชื่อเดิมเรียกว่า '''เขื่อนคลองท่าด่าน''' เป็น[[เขื่อนคอนกรีต]]บดอัดยาวที่สุดใน[[ประเทศไทย]]และในโลก{{อ้างอิง}} ตั้งอยู่ที่บ้านท่าด่าน ตำบลหินตั้ง [[อำเภอเมืองนครนายก]] [[จังหวัดนครนายก]]กั้นแม่น้ำนครนายก สร้างขึ้นตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อเก็บกักน้ำในช่วงหน้าฝนไว้ในหน้าแล้ง และควบคุมไม่ให้เกิดน้ำท่วมบ้านเรือนราษฎร ไร่นาและพื้นที่การเกษตรในหน้าฝน โดยสร้างครอบฝายท่าด่านเดิม
'''เขื่อนขุนด่านปราการชล''' ชื่อเดิมเรียกว่า '''เขื่อนคลองท่าด่าน''' เป็น[[เขื่อนคอนกรีต]]บดอัดยาวที่สุดใน[[ประเทศไทย]]และในโลก{{อ้างอิง}} ตั้งอยู่ที่บ้านท่าด่าน ตำบลหินตั้ง [[อำเภอเมืองนครนายก]] [[จังหวัดนครนายก]]กั้นแม่น้ำนครนายก สร้างขึ้นตามแนวพระราชดำริของ[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]เพื่อเก็บกักน้ำในช่วงหน้าฝนไว้ในหน้าแล้ง และควบคุมไม่ให้เกิดน้ำท่วมบ้านเรือนราษฎร ไร่นาและพื้นที่การเกษตรในหน้าฝน โดยสร้างครอบฝายท่าด่านเดิม


ที่ราบลุ่ม[[นครนายก]]มี[[ระดับน้ำใต้ดิน]]มีการลดระดับหรือพื้นที่ลาดเทค่อนข้างมาก ทำให้น้ำไหลบ่ารุนแรงในช่วงฤดูฝน ส่วนบริเวณพื้นที่ชลประทานนครนายก เป็นพื้นที่ราบกว้างขวางมีระดับน้ำใต้ดินต่ำจึงเกิดปัญหาขาดแคลนน้ำในฤดูแล้งส่วนในฤดูฝนกลับเกิดปัญหาน้ำท่วมเนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบที่มีความลาดเอียงน้อยทำให้น้ำระบายออกยากน้ำจึงท่วมขังเป็นเวลานาน การสร้างเขื่อนกั้นลำน้ำนครนายกตอนบนจึงเป็นการชะลอกระแสน้ำไม่ให้ไหลอย่างรุนแรงในช่วงฤดูฝนโดยจะกักเก็บน้ำไว้ และในทางกลับกัน จะสามารถกักเก็บน้ำเอาไว้ใช้ในฤดูแล้งได้แทนที่จะต้องเผชิญกับภัยแล้ง
ที่ราบลุ่ม[[นครนายก]]มี[[ระดับน้ำใต้ดิน]]มีการลดระดับหรือพื้นที่ลาดเทค่อนข้างมาก ทำให้น้ำไหลบ่ารุนแรงในช่วงฤดูฝน ส่วนบริเวณพื้นที่ชลประทานนครนายก เป็นพื้นที่ราบกว้างขวางมีระดับน้ำใต้ดินต่ำจึงเกิดปัญหาขาดแคลนน้ำในฤดูแล้งส่วนในฤดูฝนกลับเกิดปัญหาน้ำท่วมเนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบที่มีความลาดเอียงน้อยทำให้น้ำระบายออกยากน้ำจึงท่วมขังเป็นเวลานาน การสร้างเขื่อนกั้นลำน้ำนครนายกตอนบนจึงเป็นการชะลอกระแสน้ำไม่ให้ไหลอย่างรุนแรงในช่วงฤดูฝนโดยจะกักเก็บน้ำไว้ และในทางกลับกัน จะสามารถกักเก็บน้ำเอาไว้ใช้ในฤดูแล้งได้แทนที่จะต้องเผชิญกับภัยแล้ง
บรรทัด 38: บรรทัด 38:


==การท่องเที่ยว==
==การท่องเที่ยว==
เขื่อนขุนด่านปราการชลเปิดให้นักท่องเที่ยวเดินทางมาชมวิวเหนือสันเขื่อน สามารถมองเห็นตัวเมืองนครนายกและอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ได้ที่สันเขื่อน นอกจากนี้ยังสามารถเช่าเรือหางยาวเพื่อชมน้ำตกที่อยู่ลึกเข้าไปในอ่างเก็บน้ำของเขื่อนได้
เขื่อนขุนด่านปราการชลเปิดให้นักท่องเที่ยวเดินทางมาชมวิวเหนือสันเขื่อน สามารถมองเห็นตัวเมือง[[นครนายก]]และ[[อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่]]ได้ที่สันเขื่อน นอกจากนี้ยังสามารถเช่าเรือหางยาวเพื่อชมน้ำตกที่อยู่ลึกเข้าไปในอ่างเก็บน้ำของเขื่อนได้


==การเดินทาง==
==การเดินทาง==
เดินทางโดยรถยนต์มายังตัวเมืองนครนายกโดยอาจใช้[[ถนนรังสิต-นครนายก]] (ทางหลวงหมายเลข 305) หรืออาจใช้ถนนเส้นเก่าคือ[[ถนนสุวรรณศร]] (ทางหลวงหมายเลข 33) ซึ่งจะอ้อมกว่า จนถึงตัวเมืองนครนายกให้ใช้เส้นทางเดียวกับไปน้ำตกนางรอง (ทางหลวงหมายเลข 3049) ผ่านอุทยานวังตะไคร้และเลี้ยวขวาเข้าถนนสู่ตัวเขื่อน
เดินทางโดยรถยนต์มายังตัวเมืองนครนายกโดยอาจใช้[[ถนนรังสิต-นครนายก]] ([[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 305]]) หรืออาจใช้ถนนเส้นเก่าคือ[[ถนนสุวรรณศร]] ([[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33]]) ซึ่งจะอ้อมกว่า จนถึงตัวเมือง[[นครนายก]]ให้ใช้เส้นทางเดียวกับไปน้ำตกนางรอง (ทางหลวงหมายเลข 3049) ผ่านอุทยานวังตะไคร้และเลี้ยวขวาเข้าถนนสู่ตัวเขื่อน


รถโดยสารประจำทางจากกรุงเทพฯ–นครนายก มีบริการรถโดยสารประจำทางทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ ออกจากสถานีขนส่งสายเหนือ (หมอชิต 2) ทุกวัน
รถโดยสารประจำทางจากกรุงเทพฯ–นครนายก มีบริการรถโดยสารประจำทางทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ ออกจากสถานีขนส่งสายเหนือ (หมอชิต 2) ทุกวัน


รถตู้ กรุงเทพ-นครนายก-เขื่อนขุนด่าน โดยสามารถขึ้นที่
รถตู้ กรุงเทพ-นครนายก-เขื่อนขุนด่าน โดยสามารถขึ้นที่
[1] อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
[1] [[อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ]]
[2] ฟิวเจอร์พาร์ครังสิต
[2] ฟิวเจอร์พาร์ครังสิต
[3] หน้าโรงพยาบาลนครนายก (ฝั่งโรงพยาบาล)
[3] หน้าโรงพยาบาลนครนายก (ฝั่งโรงพยาบาล)
บรรทัด 53: บรรทัด 53:
{{geolinks-city|14.313|101.321}}
{{geolinks-city|14.313|101.321}}


{{เขื่อนในประเทศไทย}}
{{เขื่อนใน[[ประเทศไทย]]}}


[[หมวดหมู่:เขื่อนในประเทศไทย|ขุนด่านปราการชล]]
[[หมวดหมู่:เขื่อนในประเทศไทย|ขุนด่านปราการชล]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:38, 18 กุมภาพันธ์ 2560

เขื่อนขุนด่านปราการชล
ชื่อทางการเขื่อนขุนด่านปราการชล
ที่ตั้งตำบลหินตั้ง อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก
โครงสร้างและทางน้ำล้น
ความสูง93 เมตร
ความยาว2,720 เมตร
กั้นแม่น้ำนครนายก
อ่างเก็บน้ำ
ความจุ224 ล้านลูกบาศก์เมตร

เขื่อนขุนด่านปราการชล ชื่อเดิมเรียกว่า เขื่อนคลองท่าด่าน เป็นเขื่อนคอนกรีตบดอัดยาวที่สุดในประเทศไทยและในโลก[ต้องการอ้างอิง] ตั้งอยู่ที่บ้านท่าด่าน ตำบลหินตั้ง อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายกกั้นแม่น้ำนครนายก สร้างขึ้นตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเพื่อเก็บกักน้ำในช่วงหน้าฝนไว้ในหน้าแล้ง และควบคุมไม่ให้เกิดน้ำท่วมบ้านเรือนราษฎร ไร่นาและพื้นที่การเกษตรในหน้าฝน โดยสร้างครอบฝายท่าด่านเดิม

ที่ราบลุ่มนครนายกมีระดับน้ำใต้ดินมีการลดระดับหรือพื้นที่ลาดเทค่อนข้างมาก ทำให้น้ำไหลบ่ารุนแรงในช่วงฤดูฝน ส่วนบริเวณพื้นที่ชลประทานนครนายก เป็นพื้นที่ราบกว้างขวางมีระดับน้ำใต้ดินต่ำจึงเกิดปัญหาขาดแคลนน้ำในฤดูแล้งส่วนในฤดูฝนกลับเกิดปัญหาน้ำท่วมเนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบที่มีความลาดเอียงน้อยทำให้น้ำระบายออกยากน้ำจึงท่วมขังเป็นเวลานาน การสร้างเขื่อนกั้นลำน้ำนครนายกตอนบนจึงเป็นการชะลอกระแสน้ำไม่ให้ไหลอย่างรุนแรงในช่วงฤดูฝนโดยจะกักเก็บน้ำไว้ และในทางกลับกัน จะสามารถกักเก็บน้ำเอาไว้ใช้ในฤดูแล้งได้แทนที่จะต้องเผชิญกับภัยแล้ง

โครงสร้างและลักษณะ

ตัวเขื่อนขุนด่านปราการชลประกอบด้วยเขื่อนหลักและเขื่อนรองสร้างด้วยคอนกรีตบดอัด ปัจจุบันเป็นเขื่อนคอนกรีตบดอัดที่มีความยาวที่สุดในโลก มีความยาวรวม 2,720 เมตร ความสูง (สูงสุด) 93 เมตร รับน้ำที่ไหลจากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ผ่านน้ำตกเหวนรกลงสู่อ่างเก็บน้ำ มีความจุ 224 ล้าน ลบ.ม. โดยทำให้มีน้ำในการทำเกษตรกรรม การอุปโภคบริโภค แก้ปัญหาดินเปรี้ยว เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลา และบรรเทาอุทกภัย เป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ ของนครนายก นักท่องเที่ยวสามารถชมอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ได้จากบริเวณสันเขื่อน จะเห็นทิวทัศน์ด้านหน้าเขื่อน และชมทิวทัศน์เมืองนครนายกด้านหลังเขื่อน ในอนาคตมีโครงการจะสร้างแก่งเทียมเพื่อการท่องเที่ยวและกีฬา และเป็นสนามสลาลอมนานาชาติ ซึ่งจะเป็นแห่งเดียวในภูมิภาคนี้ หากก่อสร้างแก่งเทียมแล้วเสร็จ จะสร้างกิจกรรมท่องเที่ยวและสร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวของจังหวัดนครนายกเพิ่มขึ้น

การท่องเที่ยว

เขื่อนขุนด่านปราการชลเปิดให้นักท่องเที่ยวเดินทางมาชมวิวเหนือสันเขื่อน สามารถมองเห็นตัวเมืองนครนายกและอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ได้ที่สันเขื่อน นอกจากนี้ยังสามารถเช่าเรือหางยาวเพื่อชมน้ำตกที่อยู่ลึกเข้าไปในอ่างเก็บน้ำของเขื่อนได้

การเดินทาง

เดินทางโดยรถยนต์มายังตัวเมืองนครนายกโดยอาจใช้ถนนรังสิต-นครนายก (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 305) หรืออาจใช้ถนนเส้นเก่าคือถนนสุวรรณศร (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33) ซึ่งจะอ้อมกว่า จนถึงตัวเมืองนครนายกให้ใช้เส้นทางเดียวกับไปน้ำตกนางรอง (ทางหลวงหมายเลข 3049) ผ่านอุทยานวังตะไคร้และเลี้ยวขวาเข้าถนนสู่ตัวเขื่อน

รถโดยสารประจำทางจากกรุงเทพฯ–นครนายก มีบริการรถโดยสารประจำทางทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ ออกจากสถานีขนส่งสายเหนือ (หมอชิต 2) ทุกวัน

รถตู้ กรุงเทพ-นครนายก-เขื่อนขุนด่าน โดยสามารถขึ้นที่ [1] อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ [2] ฟิวเจอร์พาร์ครังสิต [3] หน้าโรงพยาบาลนครนายก (ฝั่งโรงพยาบาล)

แหล่งข้อมูลอื่น

14°18′47″N 101°19′16″E / 14.313°N 101.321°E / 14.313; 101.321

{{เขื่อนในประเทศไทย}}