ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มนตร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 27: บรรทัด 27:
| [[พระพิฆเนศ|ลัทธิคเณศ]] || โอมฺ ศฺรี คเณศาย นมะ ॐ श्री गणेशाय नमः
| [[พระพิฆเนศ|ลัทธิคเณศ]] || โอมฺ ศฺรี คเณศาย นมะ ॐ श्री गणेशाय नमः
|}
|}

== ลัทธิอนุตตรธรรม ==
[[ลัทธิอนุตตรธรรม]]เรียกมนตร์ว่า'''รหัสคาถา''' หรือ '''สัจจคาถา''' ({{lang-zh|口訣}}) และเชื่อว่า[[พระแม่องค์ธรรม]]ได้แบ่งธรรมกาลออกเป็น 3 [[ยุค]] เรียกว่า[[ยุคสามกัปสุดท้าย]] ในแต่ละยุค พระแม่จะมอบหมายให้[[พระพุทธเจ้า]]เป็นผู้ปกครองและมีรหัสคาถากำหนดไว้แตกต่างกันไป ดังต่อไปนี้<ref name="สายทอง (พงศาธรรม ๑)">สายทอง (พงศาธรรม ๑), ศุภนิมิต ผู้แปล, กรุงเทพฯ: ส่งเสริมคุณภาพชีวิต, ม.ป.ป., หน้า 24-40</ref>

{|class="wikitable" style="text-align:center"
|-
| '''ธรรมกาล''' || '''ระยะเวลา''' || '''ผู้ปกครอง''' || '''รหัสคาถา'''
|-
| ยุคเขียว || 1886 ปี || [[พระทีปังกรพุทธเจ้า]] || อู๋เลี่ยงโซ่วฝอ
|-
| ยุคแดง || 3,140 || [[พระศากยมุนีพุทธเจ้า]] || หนันอู๋อาหมีถัวฝอ
|-
| ยุคขาว || 10,800 ปี || [[พระศรีอริยเมตไตรย]] || อู๋ไท่ฝอหมีเล่อ
|}
สัจจคาถาถือเป็นคาถาศักดิ์สิทธิ์ที่สุด เป็นความลับของสวรรค์ ห้ามจดบันทึก ห้ามนำไปบอกต่อ มีเฉพาะผู้ได้รับ[[อาณัติสวรรค์]] (ได้แก่ [[จู่ซือ#ลัทธิอนุตตรธรรม|จู่ซือ]] [[เหล่าเฉียนเหริน]] [[เฉียนเหริน]] และ[[เตี่ยนฉวนซือ]]) เท่านั้นที่เปิดเผยสัจจคาถาได้ เมื่อเผชิญภัยอันตรายท่องคาถานี้แล้วสิ่งศักดิ์สิทธิ์จะช่วยให้พ้นอันตรายและวิบากกรรมต่าง ๆ<ref name="ธรรมประธานพร เล่ม ๕">เกษร สุทธจิต จันทร์ประภาพ, ''ธรรมประธานพร เล่ม ๕'', เชียงใหม่: บี.เอส.ดี การพิมพ์, 2547, หน้า 185-191</ref>

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:47, 26 พฤศจิกายน 2559

มนตร์ (สันสกฤต: मन्त्र) หรือ มนต์ (บาลี: manta) คำศักดิ์สิทธิ์หรือคำสำหรับสวดเพื่อเป็นสิริมงคล[1] พบในศาสนาแบบอินเดีย ทั้งศาสนาฮินดู ศาสนาเชน ศาสนาพุทธ ศาสนาซิกข์ โดยทั่วไปมักเป็นคำสรรเสริญสิ่งศักดิ์สิทธิ์

ศาสนาพุทธ

ในศาสนาพุทธ มีการใช้มนต์ในหลายนิกาย ในแต่ละนิกายมีมนต์สำคัญดังนี้

นิกาย มนตร์
วัชรยาน โอมฺ มณิปทฺเม หูํ ॐ मणिपद्मे हूं
สุขาวดี โอมฺ อมิตาภ หฺรีะ
นิชิเร็ง นัม เมียวโฮ เร็งเงะ เคียว

ศาสนาฮินดู

นิกาย มนตร์
ลัทธิไศวะ โอมฺ นมะ ศิวาย ॐ नमः शिवाय
ลัทธิไวษณพ โอมฺ วิษฺณเว นมะ ॐ विष्णवे नमः
ลัทธิคเณศ โอมฺ ศฺรี คเณศาย นมะ ॐ श्री गणेशाय नमः