ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงแรมนรก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
}}
}}


'''โรงแรมนรก''' เป็น[[ภาพยนตร์ไทย]][[ขาวดำ]] ผลงานเขียนบท อำนวยการสร้าง กำกับการแสดง และตัดต่อโดย [[รัตน์ เปสตันยี]] ฉายเมื่อ พ.ศ. 2500 ถ่ายทำด้วยฟิล์ม 35 ม.ม.
'''โรงแรมนรก''' เป็น[[ภาพยนตร์ไทย]][[ขาวดำ]] ผลงานเขียนบท อำนวยการสร้าง กำกับการแสดง และตัดต่อโดย [[รัตน์ เปสตันยี]] ฉายเมื่อ พ.ศ. 2500 ถ่ายทำด้วยฟิล์ม 35 ม.ม. บันทึกเสียงในฟิล์ม ในขณะที่ภาพยนตร์ไทยส่วนใหญ่ในขณะนั้นนิยมถ่ายด้วยฟิล์ม 16 ม.ม. ใช้เสียงนักพากย์


ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับ[[รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502]] ในสาขา[[รายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย|ผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม]] (รัตน์ เปสตันยี) [[รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย|ถ่ายภาพยอดเยี่ยม ประเภท 35 ม.ม.]] (ประสาท สุขุม) และ[[รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย|บันทึกเสียงยอดเยี่ยม]] ([[ปง อัศวินิกุล]])
ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับ[[รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502]] ในสาขา[[รายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย|ผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม]] (รัตน์ เปสตันยี) [[รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย|ถ่ายภาพยอดเยี่ยม ประเภท 35 ม.ม.]] (ประสาท สุขุม) และ[[รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย|บันทึกเสียงยอดเยี่ยม]] ([[ปง อัศวินิกุล]])

ต้นฉบับฟิล์มภาพยนตร์เรื่องนี้สูญหายไปจากประเทศไทยเป็นเวลาหลายปี จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2538 [[หอภาพยนตร์แห่งชาติ]] ได้รับมอบฟิล์มภาพยนตร์ที่สร้างในระหว่างปี พ.ศ. 2498-2512 จากห้องแล็บของบริษัทแรงค์ แลบอราทอรี่ส์ ประเทศอังกฤษ ซึ่งถูกเก็บรักษาในสภาพที่ค่อนข้างสมบูรณ์ จำนวนประมาณ 20 เรื่อง อาทิเช่น ''[[ชั่วฟ้าดินสลาย]]'' (2498), ''โรงแรมนรก'' (2500), ''[[สวรรค์มืด]]'' (2501), ''[[แพรดำ]]'' (2504), ''[[เงิน เงิน เงิน]]'' (2508), ''[[อีแตน]]'' (2511), ''[[เกาะสวาท หาดสวรรค์]]'' (2511)

ในปีที่ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกฉาย ภาพยนตร์เรื่องนี้ไม่ได้รับความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากความล้ำสมัยของเนื้อหา และการนำเสนอตัวละครที่ฉีกแนว ตัวพระ-นาง มีความแตกต่างกันอย่างสุดขั้ว ไม่ซ้ำซากจำเจเหมือนเรื่องอื่น และบทภาพยนตร์ที่ใช้สร้าง เขียนขึ้นมาสำหรับภาพยนตร์โดยเฉพาะ ไม่ได้นำเนื้อเรื่องมาจาก[[นวนิยาย]]ที่มีความนิยมอยู่ก่อนแล้ว

หลายฉากในภาพยนตร์ ยังแสดงถึงอารมณ์ขันของผู้สร้าง ที่มีการล้อเลียนภาพยนตร์เรื่องอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นการกล่าวถึงเรื่อง ''[[สุภาพบุรุษเสือไทย]]'' หรือแม้แต่ ''ชั่วฟ้าดินสลาย'' ของตัวผู้กำกับเอง และเสียดสีวิถีชีวิตของผู้คนในสมัยนั้น


==เรื่องย่อ==
==เรื่องย่อ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:46, 6 กรกฎาคม 2550

โรงแรมนรก
ไฟล์:โรงแรมนรก(2500).jpg
กำกับรัตน์ เปสตันยี
เขียนบทรัตน์ เปสตันยี
อำนวยการสร้างรัตน์ เปสตันยี
นักแสดงนำชนะ ศรีอุบล
ศรินทิพย์ ศิริวรรณ
สุรสิทธิ์ สัตยวงศ์
ประจวบ ฤกษ์ยามดี
ถนอม อัครเศรณี
ฑัต เอกฑัต
ไกร ภูติโยธิน
วิเชียร ภู่โชติ
สมพงษ์ พงษ์มิตร
ชูศรี โรจนประดิษฐ์
ภัคพงษ์ รังควร
กำกับภาพประสาท สุขุม
ตัดต่อรัตน์ เปสตันยี
ดนตรีประกอบปรีชา เมตไตรย์
ผู้จัดจำหน่ายหนุมานภาพยนตร์
วันฉายพ.ศ. 2500
ความยาว138 นาที
ประเทศไทย
ภาษาไทย
ข้อมูลจาก IMDb
ข้อมูลจากสยามโซน

โรงแรมนรก เป็นภาพยนตร์ไทยขาวดำ ผลงานเขียนบท อำนวยการสร้าง กำกับการแสดง และตัดต่อโดย รัตน์ เปสตันยี ฉายเมื่อ พ.ศ. 2500 ถ่ายทำด้วยฟิล์ม 35 ม.ม. บันทึกเสียงในฟิล์ม ในขณะที่ภาพยนตร์ไทยส่วนใหญ่ในขณะนั้นนิยมถ่ายด้วยฟิล์ม 16 ม.ม. ใช้เสียงนักพากย์

ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502 ในสาขาผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม (รัตน์ เปสตันยี) ถ่ายภาพยอดเยี่ยม ประเภท 35 ม.ม. (ประสาท สุขุม) และบันทึกเสียงยอดเยี่ยม (ปง อัศวินิกุล)

ต้นฉบับฟิล์มภาพยนตร์เรื่องนี้สูญหายไปจากประเทศไทยเป็นเวลาหลายปี จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2538 หอภาพยนตร์แห่งชาติ ได้รับมอบฟิล์มภาพยนตร์ที่สร้างในระหว่างปี พ.ศ. 2498-2512 จากห้องแล็บของบริษัทแรงค์ แลบอราทอรี่ส์ ประเทศอังกฤษ ซึ่งถูกเก็บรักษาในสภาพที่ค่อนข้างสมบูรณ์ จำนวนประมาณ 20 เรื่อง อาทิเช่น ชั่วฟ้าดินสลาย (2498), โรงแรมนรก (2500), สวรรค์มืด (2501), แพรดำ (2504), เงิน เงิน เงิน (2508), อีแตน (2511), เกาะสวาท หาดสวรรค์ (2511)

ในปีที่ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกฉาย ภาพยนตร์เรื่องนี้ไม่ได้รับความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากความล้ำสมัยของเนื้อหา และการนำเสนอตัวละครที่ฉีกแนว ตัวพระ-นาง มีความแตกต่างกันอย่างสุดขั้ว ไม่ซ้ำซากจำเจเหมือนเรื่องอื่น และบทภาพยนตร์ที่ใช้สร้าง เขียนขึ้นมาสำหรับภาพยนตร์โดยเฉพาะ ไม่ได้นำเนื้อเรื่องมาจากนวนิยายที่มีความนิยมอยู่ก่อนแล้ว

หลายฉากในภาพยนตร์ ยังแสดงถึงอารมณ์ขันของผู้สร้าง ที่มีการล้อเลียนภาพยนตร์เรื่องอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นการกล่าวถึงเรื่อง สุภาพบุรุษเสือไทย หรือแม้แต่ ชั่วฟ้าดินสลาย ของตัวผู้กำกับเอง และเสียดสีวิถีชีวิตของผู้คนในสมัยนั้น

เรื่องย่อ

อ้างอิง