ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เออร์สกิน คอลด์เวลล์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mutation (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุง
Mutation (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[Image:Erskinecaldwell.jpg|170px|thumb|right|เออร์สกิน คอลด์เวลล์(Erskine Caldwell)]]
[[Image:Erskinecaldwell.jpg|170px|thumb|right|เออร์สกิน คอลด์เวลล์(Erskine Caldwell)]]
[[นักเขียน]][[ชาวอเมริกัน]] เ'''ออร์สกิน เพรสตัน คอลด์เวลล์''' (Erskine Preston Caldwell 17 ธันวาคม [[ค.ศ.1903]] - 11 เมษายน [[ค.ศ.1987]]) มักจะเขียนถึงชีวิตของผู้คนยากจนที่มีทั้งชาวผิวขาวและผิวดำในชนบททางภาคใต้ของสหรัฐฯ อันเป็นถิ่นกำเนิดของเขา ด้วยท่วงทำนองหม่นเศร้าและเป็นจริง ในบรรดานวนิยาย 25 เรื่อง (และหนังสือสารคดีอีก 12 เล่ม) ไม่มีเล่มไหนโด่งดังไปกว่า Tobacco Road (ค.ศ.1932) และ God’s little acre (ค.ศ.1933) หนังสือของคอลด์เวลล์ในแบบ[[ปกอ่อน]]ขายได้กว่าแปดสิบล้านเล่มและถูกแปลเป็นภาษาต่างๆ นับสี่สิบสามภาษา เขาจึงเป็นหนึ่งในนักเขียน[[นิยาย]]ยุค[[ศตวรรษที่ 20]] ที่มีผู้อ่านมากที่สุดคนหนึ่ง ซึ่ง[[นักวิจารณ์]]ในยุคนั้นยกย่องให้อยู่ในระดับเดียวกับฟิตซ์[[เจอรัลด์ วูลฟ์]] และ[[จอห์น สไตน์เบ็ค ]] คอลด์เวลล์เกิดใน[[จอร์เจีย]] ในครอบครัวของพระ[[นิกายเพรสไบทีเรียน]]ซึ่งออกเดินทางไปตามตำบลต่างๆ ทำให้เขาต้องเรียนหนังสือจากแม่ และเรียนรู้ชีวิตจากงานต่างๆ ที่เขาทำในช่วงวัยหนุ่ม ก่อนที่จะหันมาทำอาชีพ[[นักหนังสือพิมพ์]]และเขียนหนังสือเต็มตัว ในช่วงต้นทศวรรษ 1930 สไตล์การเขียนซึ่งผสมผสานระหว่างความสมจริงสุดขีดและเซ็กซ์กับความรุนแรงทำให้เกิดการถกเถียงขึ้นอย่างหนักหน่วง เมื่อสมาคม[[นิวยอร์ก]]เพื่อป้องกันความชั่วร้ายพยายามจะประกาศห้ามเรื่อง God's little acre คอลด์เวลล์ก็ฟ้อง[[ศาล]]และชนะคดี ระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] คอลด์เวลล์ในเวลานั้นเป็นผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์อยู่ใน[[สหภาพโซเวียต]]และได้เห็นการยกทัพเข้าโจมตีของกองทัพ[[เยอรมัน]]ในปี ค.ศ.1941 เขาแต่งงานทั้งหมดสี่ครั้ง (หย่าสามครั้ง)และเสียชีวิตด้วยโรค[[มะเร็ง]]เมื่ออายุ 83 ปี
[[นักเขียน]][[ชาวอเมริกัน]] เ'''ออร์สกิน เพรสตัน คอลด์เวลล์''' (Erskine Preston Caldwell 17 ธันวาคม [[ค.ศ.1903]] - 11 เมษายน [[ค.ศ.1987]]) มักจะเขียนถึงชีวิตของผู้คนยากจนที่มีทั้งชาวผิวขาวและผิวดำในชนบททางภาคใต้ของสหรัฐฯ อันเป็นถิ่นกำเนิดของเขา ด้วยท่วงทำนองหม่นเศร้าและเป็นจริง ในบรรดานวนิยาย 25 เรื่อง (และหนังสือสารคดีอีก 12 เล่ม) ไม่มีเล่มไหนโด่งดังไปกว่า Tobacco Road (ค.ศ.1932) และ God’s little acre (ค.ศ.1933) หนังสือของคอลด์เวลล์ในแบบ[[ปกอ่อน]]ขายได้กว่าแปดสิบล้านเล่มและถูกแปลเป็นภาษาต่างๆ นับสี่สิบสามภาษา เขาจึงเป็นหนึ่งในนักเขียน[[นิยาย]]ยุค[[ศตวรรษที่ 20]] ที่มีผู้อ่านมากที่สุดคนหนึ่ง ซึ่ง[[นักวิจารณ์]]ในยุคนั้นยกย่องให้อยู่ในระดับเดียวกับ[[ฟิตซ์เจอรัลด์ วูลฟ์]] และ[[จอห์น สไตน์เบ็ค ]] คอลด์เวลล์เกิดใน[[จอร์เจีย]] ในครอบครัวของพระ[[นิกายเพรสไบทีเรียน]]ซึ่งออกเดินทางไปตามตำบลต่างๆ ทำให้เขาต้องเรียนหนังสือจากแม่ และเรียนรู้ชีวิตจากงานต่างๆ ที่เขาทำในช่วงวัยหนุ่ม ก่อนที่จะหันมาทำอาชีพ[[นักหนังสือพิมพ์]]และเขียนหนังสือเต็มตัว ในช่วงต้นทศวรรษ 1930 สไตล์การเขียนซึ่งผสมผสานระหว่างความสมจริงสุดขีดและเซ็กซ์กับความรุนแรงทำให้เกิดการถกเถียงขึ้นอย่างหนักหน่วง เมื่อสมาคม[[นิวยอร์ก]]เพื่อป้องกันความชั่วร้ายพยายามจะประกาศห้ามเรื่อง God's little acre คอลด์เวลล์ก็ฟ้อง[[ศาล]]และชนะคดี ระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] คอลด์เวลล์ในเวลานั้นเป็นผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์อยู่ใน[[สหภาพโซเวียต]]และได้เห็นการยกทัพเข้าโจมตีของกองทัพ[[เยอรมัน]]ในปี ค.ศ.1941 เขาแต่งงานทั้งหมดสี่ครั้ง (หย่าสามครั้ง)และเสียชีวิตด้วยโรค[[มะเร็ง]]เมื่ออายุ 83 ปี


'''คำคม''' : "All I wanted to do was tell a story, to tell it to the best of my ability." (ทั้งหมดที่ผมต้องการทำคือเล่าเรื่อง เล่าให้สุดความสามารถที่ผมมี)
'''คำคม''' : "All I wanted to do was tell a story, to tell it to the best of my ability." (ทั้งหมดที่ผมต้องการทำคือเล่าเรื่อง เล่าให้สุดความสามารถที่ผมมี)
บรรทัด 64: บรรทัด 64:


=== หนังสือท่องเที่ยว ===
=== หนังสือท่องเที่ยว ===
* Afternoons in Mid-America: Observation and Impression (ค.ศ.1976) ภาพประกอบโดยเวอร์จีเนีย คอลล์เวลล์ (Virginia Caldwell)
* Afternoons in Mid-America: Observation and Impression (ค.ศ.1976) ภาพประกอบโดยเวอร์จีเนีย คอลด์เวลล์ (Virginia Caldwell)
* Around About America (ค.ศ.1964) ภาพประกอบโดยเวอร์จีเนีย คอลล์เวลล์ (Virginia Caldwell)
* Around About America (ค.ศ.1964) ภาพประกอบโดยเวอร์จีเนีย คอลด์เวลล์ (Virginia Caldwell)


=== บันทึกความทรงจำ ===
=== บันทึกความทรงจำ ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:36, 28 กันยายน 2548

เออร์สกิน คอลด์เวลล์(Erskine Caldwell)

นักเขียนชาวอเมริกันออร์สกิน เพรสตัน คอลด์เวลล์ (Erskine Preston Caldwell 17 ธันวาคม ค.ศ.1903 - 11 เมษายน ค.ศ.1987) มักจะเขียนถึงชีวิตของผู้คนยากจนที่มีทั้งชาวผิวขาวและผิวดำในชนบททางภาคใต้ของสหรัฐฯ อันเป็นถิ่นกำเนิดของเขา ด้วยท่วงทำนองหม่นเศร้าและเป็นจริง ในบรรดานวนิยาย 25 เรื่อง (และหนังสือสารคดีอีก 12 เล่ม) ไม่มีเล่มไหนโด่งดังไปกว่า Tobacco Road (ค.ศ.1932) และ God’s little acre (ค.ศ.1933) หนังสือของคอลด์เวลล์ในแบบปกอ่อนขายได้กว่าแปดสิบล้านเล่มและถูกแปลเป็นภาษาต่างๆ นับสี่สิบสามภาษา เขาจึงเป็นหนึ่งในนักเขียนนิยายยุคศตวรรษที่ 20 ที่มีผู้อ่านมากที่สุดคนหนึ่ง ซึ่งนักวิจารณ์ในยุคนั้นยกย่องให้อยู่ในระดับเดียวกับฟิตซ์เจอรัลด์ วูลฟ์ และจอห์น สไตน์เบ็ค คอลด์เวลล์เกิดในจอร์เจีย ในครอบครัวของพระนิกายเพรสไบทีเรียนซึ่งออกเดินทางไปตามตำบลต่างๆ ทำให้เขาต้องเรียนหนังสือจากแม่ และเรียนรู้ชีวิตจากงานต่างๆ ที่เขาทำในช่วงวัยหนุ่ม ก่อนที่จะหันมาทำอาชีพนักหนังสือพิมพ์และเขียนหนังสือเต็มตัว ในช่วงต้นทศวรรษ 1930 สไตล์การเขียนซึ่งผสมผสานระหว่างความสมจริงสุดขีดและเซ็กซ์กับความรุนแรงทำให้เกิดการถกเถียงขึ้นอย่างหนักหน่วง เมื่อสมาคมนิวยอร์กเพื่อป้องกันความชั่วร้ายพยายามจะประกาศห้ามเรื่อง God's little acre คอลด์เวลล์ก็ฟ้องศาลและชนะคดี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 คอลด์เวลล์ในเวลานั้นเป็นผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์อยู่ในสหภาพโซเวียตและได้เห็นการยกทัพเข้าโจมตีของกองทัพเยอรมันในปี ค.ศ.1941 เขาแต่งงานทั้งหมดสี่ครั้ง (หย่าสามครั้ง)และเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเมื่ออายุ 83 ปี

คำคม : "All I wanted to do was tell a story, to tell it to the best of my ability." (ทั้งหมดที่ผมต้องการทำคือเล่าเรื่อง เล่าให้สุดความสามารถที่ผมมี)


ผลงาน

นิยาย

  • The Bastard (ค.ศ.1929)
  • Poor Fool (ค.ศ.1930)
  • Tobacco Road (ค.ศ.1932)
  • God's Little Acre (ค.ศ.1933)
  • Journeyman (ค.ศ.1935)
  • Trouble in July (ค.ศ.1940)
  • All Night Long (ค.ศ.1942)
  • Georgia Boy (ค.ศ.1943)
  • Tragic Ground (ค.ศ.1944)
  • A House in the Uplands (ค.ศ.1946)
  • The Sure Hand of God (ค.ศ.1947)
  • This Very Earth (ค.ศ.1948)
  • A Place Called Estherville (ค.ศ.1949)
  • Episode in Palmetto (ค.ศ.1950)
  • A Lamp for Nightfall (ค.ศ.1952)
  • Love and Money (ค.ศ.1954)
  • Gretta (ค.ศ.1955)
  • Claudelle Inglish (ค.ศ.1958)
  • Jenny by Nature (ค.ศ.1961)
  • Close to Home (ค.ศ.1962)
  • The Last Night of Summer (ค.ศ.1963)
  • Miss Mamma Aimee (ค.ศ.1967)
  • Summertime Island (ค.ศ.1968)
  • The Weather Shelter (ค.ศ.1969)
  • The Earnshaw Neighborhood (ค.ศ.1971)
  • Annette (ค.ศ.1973)

เรื่องสั้น

  • American Earth (ค.ศ.1931)
  • We Are the Living (ค.ศ.1933)
  • Kneel to the Rising Sun and Other Stories (ค.ศ.1935)
  • Southways (ค.ศ.1938)
  • Jackpot: The Stories of Erskine Caldwell (ค.ศ.1940)
  • Stories by Erskine Caldwell (ค.ศ.1944)
  • The Caldwell Caravan: Novels and Stories (ค.ศ.1946)
  • The Humorous Side of Erskine Caldwell (ค.ศ.1951)
  • The Courting of Susie Brown (ค.ศ.1952)
  • Complete Stories of Erskine Caldwell (ค.ศ.1953)
  • Gulf Coast Stories (ค.ศ.1956)
  • Certain Women (ค.ศ.1957)
  • When You Think of Me (ค.ศ.1959)
  • Men and Women (ค.ศ.1961)
  • Stories of Life: North & South (ค.ศ.1983)
  • The Black and White Stories of Erskine Caldwell (ค.ศ.1984)
  • The Stories of Erskine Caldwell (ค.ศ.1996)

บทกวี

  • The Sacrilege of Alan Kent (ค.ศ.1936)

สารคดีทั่วไป

  • Tenant Farmers (ค.ศ.1935)
  • Some American People (ค.ศ.1935)
  • Moscow Under Fire: A Wartime Diary (ค.ศ.1942)
  • All-Out on the Road to Smolensk (ค.ศ.1942)
  • Writing in America (ค.ศ.1967)

หนังสือท่องเที่ยว

  • Afternoons in Mid-America: Observation and Impression (ค.ศ.1976) ภาพประกอบโดยเวอร์จีเนีย คอลด์เวลล์ (Virginia Caldwell)
  • Around About America (ค.ศ.1964) ภาพประกอบโดยเวอร์จีเนีย คอลด์เวลล์ (Virginia Caldwell)

บันทึกความทรงจำ

  • In Search of Bisco (ค.ศ.1965)
  • In the Shadow of the Steeple (ค.ศ.1967)
  • Deep South: Memory and Observation (ค.ศ.1968)เคยตีพิมพ์ในชื่อ In the Shadow of the Steeple ในปี ค.ศ.1967

อัตชีวประวัติ

  • Call It Experience: The Years of Learning How to Write (ค.ศ.1951)
  • With All My Might: An Autobiography (ค.ศ.1987)

หนังสือประกอบภาพ

ร่วมกับ มากาเร็ต บูร์ก-ไวท์ (Margaret Bourke-White)

  • You Have Seen Their Faces (ค.ศ.1937)
  • North of the Danube (ค.ศ.1939)
  • Say! Is This the USA (ค.ศ.1941)
  • Russia at War (ค.ศ.1942)

หนังสือเด็ก

  • Molly Cottontail (ค.ศ.1958)
  • The Deer at Our House (ค.ศ.1966)

ลิงก์ภายนอก

ผลงานที่แปลเป็นภาษาไทย




บทความนี้ นำข้อความบางส่วนหรือทั้งหมด มาจากเว็บไซต์ วรรณกรรมดอทคอม ซึ่งเจ้าของเว็บไซต์ดังกล่าว อนุญาตให้เผยแพร่ต่อได้ โดยไม่สงวนลิขสิทธิ์