ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทะเลสาบหนองหาน"

พิกัด: 17°11′56″N 104°11′9″W / 17.19889°N 104.18583°W / 17.19889; -104.18583
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
คนละหนองหานจริง ๆ ขออภัย
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ระวังสับสน|หนองหานน้อย}}
[[ไฟล์:Nong Han Lake.jpg|thumb|หนองหาน]]
[[ไฟล์:Nong Han Lake.jpg|thumb|หนองหาน]]


'''ทะเลสาบหนองหาน''' หรือ '''หนองหา''' เป็น[[บึง|ทะเลสาบน้ำจืด]]ขนาดใหญ่ที่สุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และใหญ่เป็นอันดับ 2 (รองจาก บึงบอระเพ็ด) ของประเทศ<ref>นิตยสารสารคดี ฉบับที่ 267 พ.ค. 2550 หน้า 172</ref> ตั้งอยู่บริเวณ [[อำเภอเมืองสกลนคร]] [[อำเภอโพนนาแก้ว]] [[จังหวัดสกลนคร]] มีเนื้อที่กว่า 77,000 ไร่ ความลึกเฉลี่ยประมาณ 2.0-10.0 เมตร เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลาน้ำจืด นกน้ำ พื้นที่ชุ่มน้ำที่สำคัญของประเทศไทย สันนิษฐานว่า เกิดจากการยุบตัว ของแผ่นเปลือกโลก อันเนื่องมาจากการถูกชะล้าง ของชั้นหินเกลือใต้ดิน จนเกิดโพรงขนาดใหญ่ และเกิดการพังทลาย ยุบตัวลงเป็นหนองน้ำในเวลาต่อมา ตามคติความเชื่อของ ชาวสกลนคร หนองหาร คือ ผลจากการกระทำ ของ[[พญานาค]] สืบเนื่องมาจากการกระทำ อันผิดทำนองคลองธรรม ของชาย-หญิง ในตำนานผาแดง นางไอ่
'''ทะเลสาบหนองหาน''' หรือ '''หนองหานหลวง'''<ref>{{cite web |url= http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1349061680 |title= หนองหาน ไม่ใช่ หนองหาร ยุคสุโขทัย ปลูกเรือนเสาสูง |author= สุจิตต์ วงษ์เทศ |date= 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 |work= |publisher= มติชนออนไลน์ |accessdate= 14 ตุลาคม 2557 }}</ref> เป็น[[บึง|ทะเลสาบน้ำจืด]]ขนาดใหญ่ที่สุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ เป็นรองจาก[[บึงบอระเพ็ด]]<ref>นิตยสารสารคดี ฉบับที่ 267 พ.ค. 2550 หน้า 172</ref> ตั้งอยู่บริเวณ[[อำเภอเมืองสกลนคร]] [[อำเภอโพนนาแก้ว]] [[จังหวัดสกลนคร]] มีเนื้อที่กว่า 77,000 ไร่ ความลึกเฉลี่ยประมาณ 2.0-10.0 เมตร เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลาน้ำจืด นกน้ำ พื้นที่ชุ่มน้ำที่สำคัญของประเทศไทย สันนิษฐานว่า เกิดจากการยุบตัว ของแผ่นเปลือกโลก อันเนื่องมาจากการถูกชะล้าง ของชั้นหินเกลือใต้ดิน จนเกิดโพรงขนาดใหญ่ และเกิดการพังทลาย ยุบตัวลงเป็นหนองน้ำในเวลาต่อมา ตามคติความเชื่อของ ชาวสกลนคร หนองหาร คือ ผลจากการกระทำ ของ[[พญานาค]] สืบเนื่องมาจากการกระทำ อันผิดทำนองคลองธรรม ของชาย-หญิง ในตำนานผาแดง นางไอ่


ทะเลสาบหนองหาร ประกอบ เกาะน้อยใหญ่ มากกว่า 30 เกาะ เกาะที่ขนาดใหญ่ที่สุดคือ เกาะดอนสวรรค์ โดยมีพุทธสถานโบราณ ภายในเกาะ สำหรับผู้ที่ต้องการเที่ยวเยียมชม รวมทั้งทัศนียภาพ น้ำใส สาหร่ายสีทอง นกน้ำ ปลา นานาพันธุ์ และวิถีชีวิต ของชาวประมงหนองหาร
ทะเลสาบหนองหาร ประกอบ เกาะน้อยใหญ่ มากกว่า 30 เกาะ เกาะที่ขนาดใหญ่ที่สุดคือ เกาะดอนสวรรค์ โดยมีพุทธสถานโบราณ ภายในเกาะ สำหรับผู้ที่ต้องการเที่ยวเยียมชม รวมทั้งทัศนียภาพ น้ำใส สาหร่ายสีทอง นกน้ำ ปลา นานาพันธุ์ และวิถีชีวิตของชาวประมงหนองหาน

ในปี พ.ศ. 2557 [[ซีเอ็นเอ็น]] สื่อมวลชนระดับโลกได้เลือกให้หนองหานเป็นทะเลสาบที่แปลกเป็นอันดับ 2 ของโลก โดยอันดับหนึ่งได้แก่ [[ทะเลสาบแมงกะพรุน]] ใน[[ประเทศปาเลา]] โดยสาเหตุที่เลือกหนองหาน คือ ความงามของดอกบัวแดงหลายพันดอกหลายหมื่นดอก ที่จะเบ่งบานอยู่บนผิวน้ำที่ทะเลสาบหนองหาน เนื้อที่นับ 20,000 ไร่ โดยดอกบัวจะเริ่มผลิบานตั้งแต่เดือนตุลาคม เป็นประจำทุกปี หลังสิ้นสุดฤดูฝนเพียงไม่นาน และจะบานสะพรั่งในเดือนธันวาคม<ref>{{cite web|url=http://www.thairath.co.th/content/435850|title=‘หนองหาน’ เลื่องชื่อ! CNN เลือก อันดับ 2 ทะเลสาบแปลกสุดในโลก |date=12 July 2014|accessdate=12 July 2014|publisher=ไทยรัฐ}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:12, 14 ตุลาคม 2557

หนองหาน

ทะเลสาบหนองหาน หรือ หนองหานหลวง[1] เป็นทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่ที่สุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ เป็นรองจากบึงบอระเพ็ด[2] ตั้งอยู่บริเวณอำเภอเมืองสกลนคร อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร มีเนื้อที่กว่า 77,000 ไร่ ความลึกเฉลี่ยประมาณ 2.0-10.0 เมตร เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลาน้ำจืด นกน้ำ พื้นที่ชุ่มน้ำที่สำคัญของประเทศไทย สันนิษฐานว่า เกิดจากการยุบตัว ของแผ่นเปลือกโลก อันเนื่องมาจากการถูกชะล้าง ของชั้นหินเกลือใต้ดิน จนเกิดโพรงขนาดใหญ่ และเกิดการพังทลาย ยุบตัวลงเป็นหนองน้ำในเวลาต่อมา ตามคติความเชื่อของ ชาวสกลนคร หนองหาร คือ ผลจากการกระทำ ของพญานาค สืบเนื่องมาจากการกระทำ อันผิดทำนองคลองธรรม ของชาย-หญิง ในตำนานผาแดง นางไอ่

ทะเลสาบหนองหาร ประกอบ เกาะน้อยใหญ่ มากกว่า 30 เกาะ เกาะที่ขนาดใหญ่ที่สุดคือ เกาะดอนสวรรค์ โดยมีพุทธสถานโบราณ ภายในเกาะ สำหรับผู้ที่ต้องการเที่ยวเยียมชม รวมทั้งทัศนียภาพ น้ำใส สาหร่ายสีทอง นกน้ำ ปลา นานาพันธุ์ และวิถีชีวิตของชาวประมงหนองหาน

อ้างอิง

  1. สุจิตต์ วงษ์เทศ (1 ตุลาคม พ.ศ. 2555). "หนองหาน ไม่ใช่ หนองหาร ยุคสุโขทัย ปลูกเรือนเสาสูง". มติชนออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 14 ตุลาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  2. นิตยสารสารคดี ฉบับที่ 267 พ.ค. 2550 หน้า 172

17°11′56″N 104°11′9″W / 17.19889°N 104.18583°W / 17.19889; -104.18583