ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไททาเนีย (ดาวบริวาร)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: ไฟล์:Titania (moon) color cropped.jpg|200px|right|thumb|ไททาเนียถ่ายจากยานวอยเอจเจอร์ 2 ในวั...
 
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Titania (moon) color cropped.jpg|200px|right|thumb|ไททาเนียถ่ายจากยานวอยเอจเจอร์ 2 ในวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. [[ค.ศ. 1986|1986]] ]]
[[ไฟล์:Titania (moon) color cropped.jpg|200px|right|thumb|ไททาเนียถ่ายจากยานวอยเอจเจอร์ 2 ในวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. [[ค.ศ. 1986|1986]]]]
'''ไททาเนีย''' ({{lang-en|Titania}}) เป็น[[ดาวบริวารของดาวยูเรนัส|ดาวบริวาร]]ลำดับที่ 17 นับตามระยะทางจาก[[ดาวยูเรนัส]] ถูกค้นพบเมื่อ วันที่ 11 มกราคม [[พ.ศ. 2330|1787]] โดย [[วิลเลียม เฮอร์เชล]] มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 8 ของดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ ไททาเนียได้ตั้งชื่อตามราชินิแห่งนางฟ้า จากเรื่อง '' A Midsummer Night's Dream'' ของ วิลเลียม เชคสเปียร์ วงโคจรของไททาเนียอยู่ใน[[สนามแม่เหล็ก]]ของดาวยูเรนัส
'''ไททาเนีย''' ({{lang-en|Titania}}) เป็น[[ดาวบริวารของดาวยูเรนัส|ดาวบริวาร]]ลำดับที่ 17 นับตามระยะทางจาก[[ดาวยูเรนัส]] ถูกค้นพบเมื่อ วันที่ 11 มกราคม 1787 โดย [[วิลเลียม เฮอร์เชล]] มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 8 ของดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ ไททาเนียได้ตั้งชื่อตามราชินิแห่งนางฟ้า จากเรื่อง '' A Midsummer Night's Dream'' ของ วิลเลียม เชคสเปียร์ วงโคจรของไททาเนียอยู่ใน[[สนามแม่เหล็ก]]ของดาวยูเรนัส


พื้นผิวส่วนใหญ่ของไททาเนียเป็นหินและน้ำแข็ง ส่วนแกนชั้นนอกเป็นหิน แต่แกนชั้นในเป็นน้ำแข็ง ต่อมาเครื่องอินฟราเรดสเปกโทรสโคป ได้เริ่มสำรวจแล้วพบว่ามี[[น้ำแข็งแห้ง]]และน้ำแข็งบนพื้นผิวเป็นจำนวนมาก ไททาเนียเหมือนกับดาวบริวารหลักอื่นๆ คือเกิดจาก[[จานพอกพูนมวล]]
พื้นผิวส่วนใหญ่ของไททาเนียเป็นหินและน้ำแข็ง ส่วนแกนชั้นนอกเป็นหิน แต่แกนชั้นในเป็นน้ำแข็ง ต่อมาเครื่องอินฟราเรดสเปกโทรสโคป ได้เริ่มสำรวจแล้วพบว่ามี[[น้ำแข็งแห้ง]]และน้ำแข็งบนพื้นผิวเป็นจำนวนมาก ไททาเนียเหมือนกับดาวบริวารหลักอื่นๆ คือเกิดจาก[[จานพอกพูนมวล]]


ในปี 2013 นักดาราศาสตร์ได้เรียนรู้เกี่ยวกับดาวบริวารของดาวยูเรนัสมากขึ้น จากการสำรวจของยานวอยเอจเจอร์ 2 เมื่อ เดือนมกราคม พ.ศ. 2529 ซึ่งการสำรวจครั้งนั้นทำให้สามารถทำแผนที่ดาวได้แค่ 40 % เท่านั้น
ในปี 2013 นักดาราศาสตร์ได้เรียนรู้เกี่ยวกับดาวบริวารของดาวยูเรนัสมากขึ้น จากการสำรวจของยานวอยเอจเจอร์ 2 เมื่อ เดือนมกราคม 1986 ซึ่งการสำรวจครั้งนั้นทำให้สามารถทำแผนที่ดาวได้แค่ 40 % เท่านั้น


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:49, 21 กันยายน 2556

ไททาเนียถ่ายจากยานวอยเอจเจอร์ 2 ในวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1986

ไททาเนีย (อังกฤษ: Titania) เป็นดาวบริวารลำดับที่ 17 นับตามระยะทางจากดาวยูเรนัส ถูกค้นพบเมื่อ วันที่ 11 มกราคม 1787 โดย วิลเลียม เฮอร์เชล มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 8 ของดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ ไททาเนียได้ตั้งชื่อตามราชินิแห่งนางฟ้า จากเรื่อง A Midsummer Night's Dream ของ วิลเลียม เชคสเปียร์ วงโคจรของไททาเนียอยู่ในสนามแม่เหล็กของดาวยูเรนัส

พื้นผิวส่วนใหญ่ของไททาเนียเป็นหินและน้ำแข็ง ส่วนแกนชั้นนอกเป็นหิน แต่แกนชั้นในเป็นน้ำแข็ง ต่อมาเครื่องอินฟราเรดสเปกโทรสโคป ได้เริ่มสำรวจแล้วพบว่ามีน้ำแข็งแห้งและน้ำแข็งบนพื้นผิวเป็นจำนวนมาก ไททาเนียเหมือนกับดาวบริวารหลักอื่นๆ คือเกิดจากจานพอกพูนมวล

ในปี 2013 นักดาราศาสตร์ได้เรียนรู้เกี่ยวกับดาวบริวารของดาวยูเรนัสมากขึ้น จากการสำรวจของยานวอยเอจเจอร์ 2 เมื่อ เดือนมกราคม 1986 ซึ่งการสำรวจครั้งนั้นทำให้สามารถทำแผนที่ดาวได้แค่ 40 % เท่านั้น

ดูเพิ่ม