ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหงื่อ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink: คอมมอนส์-หมวดหมู่
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 33: บรรทัด 33:
[[หมวดหมู่:การขับถ่าย]]
[[หมวดหมู่:การขับถ่าย]]


[[ar:تعرق]]
[[av:ГӀетӀ]]
[[ay:Jump'i]]
[[be:Пот]]
[[be-x-old:Пот]]
[[bh:पसीना]]
[[br:C'hwez]]
[[bs:Znojenje]]
[[ca:Suor]]
[[cs:Pot]]
[[cy:Chwys]]
[[da:Sved]]
[[de:Schwitzen]]
[[de:Schwitzen]]
[[dv:ދާ]]
[[el:Ιδρώτας]]
[[en:Perspiration]]
[[eo:Ŝvito]]
[[es:Sudor]]
[[fa:عرق‌کردن]]
[[fi:Hiki]]
[[fr:Sueur]]
[[gan:汗]]
[[he:זיעה]]
[[hi:पसीना]]
[[id:Keringat]]
[[io:Sudoro]]
[[is:Sviti]]
[[it:Sudorazione]]
[[ja:汗]]
[[kn:ಬೆವರು]]
[[ko:땀]]
[[ky:Тердөө]]
[[la:Sudor]]
[[lbe:Гьухъ]]
[[lt:Prakaitavimas]]
[[lv:Sviedri]]
[[mr:घाम]]
[[ne:पसीना]]
[[nl:Zweten]]
[[no:Svette]]
[[pl:Pot]]
[[pt:Suor]]
[[qu:Hump'i]]
[[ru:Пот]]
[[sh:Znojenje]]
[[simple:Sweat]]
[[sk:Pot (tekutina)]]
[[sr:Знојење]]
[[su:Késang]]
[[sv:Svettning]]
[[ta:வியர்வை]]
[[te:చెమట]]
[[tl:Pawis]]
[[tr:Ter]]
[[uk:Піт]]
[[ur:پسینہ]]
[[vi:Mồ hôi]]
[[yi:שוויצן]]
[[zh:汗液]]
[[zh-yue:汗]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:39, 10 มีนาคม 2556

หยดเหงื่อบนใบหน้า

เหงื่อ เป็นของเสียชนิดหนึ่งที่ร่างกายขับออกมาในรูปของเหลว และจะขับออกมาทางผิวหนังหรือตามซอกต่างๆของร่างกาย มักมีรสเค็มเพราะมีเกลือเป็นส่วนประกอบ การออกกำลังกายหรือเวลาอากาศร้อนก็มีเหงื่อได้เช่นกัน

เหงื่อประกอบด้วย น้ำ 99% ส่วนอีก 1% ได้แก่ โซเดียมคลอไรด์ ยูเรีย น้ำตาล ไขมัน กรดอะมิโนบางชนิด โพแทสเซียม แมกนีเซียม เหล็ก

ชนิดของเหงื่อ

เหงื่อที่ผลิตจาก Eccrine Sweat Glands

ต่อมเหงื่อชนิดนี้พบทั่วตามร่างกาย ได้แก่ ผิวหนัง ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ซึ่งจะผลิตเหงื่อที่มีลักษณะใสเหมือนน้ำ ไม่มีกลิ่น เพราะร่างกายจะขับเหงื่อชนิดนี้ออกมาเมื่อทำกิจกรรมหนักๆ หรืออยู่ในสภาวะอากาศร้อน

เหงื่อที่ผลิตจาก Apocrine Sweat Glands

ต่อมเหงื่อชนิดนี้กระจายตัวอยู่บางแห่งของร่างกาย เช่น รักแร้ ขาหนีบ ทวารหนัก หัวหน่าว ก้น แผ่นหลัง เหงื่อที่ได้จะมีลักษณะเหนียวใสและมีส่วนผสมของไขมันอยู่มากจึงทำให้เหงื่อชนิดนี้มีกลิ่น ซึ่งกลิ่นเหล่านี้ทำหน้าที่ในการกระตุ้นอารมณ์เพศจึงเป็นคนละกลิ่นที่เกิดจากการหมักหมมของขี้ไคล

การขับเหงื่อ

เหงื่อจะเกิดขึ้นเมื่อร่างกายของเราสัมผัสกับสิ่งกระตุ้นของ "ความร้อน" และ "อารมณ์" ซึ่งทำให้สมองหลั่งสารเคมีชื่อ แอซีทิลโคลีน (Acetylcholine) ที่อยู่บริเวณปลายประสาทออกมากกระตุ้นต่อมเหงื่อให้ผลิตเหงื่อ

ปริมาณเหงื่อของแต่ละคนขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัย คือ

อากาศ ความผันผวนของอากาศ ซึ่งอากาศร้อนมีความชื้นในอากาศสูงจะทำให้เหงื่อออกมากกว่าวันที่ฝนตกซึ่งมีความชื้นในอากศต่ำ

กิจกรรมที่ทำในแต่ละวัน หากต้องออกแรงมากจะทำให้เหงื่อออกมากซึ่งตรงข้ามกับผู้ที่ไม่ค่อยจะออกแรง

ปัจจัยเสริม

โรคบางชนิดสามารถทำให้ปริมาณของเหงื่อเปลี่ยนแปลได้ เช่น โรคเครียด ต่อมไทรอยด์เป็นพิษหรือคอพอก วัณโรค เบาหวาน โรคหัวใจ ภาวะใกล้หมดประจำเดือน สิ่งเหล่านี้ทำให้เหงื่อออกมาก ส่วนโรคผิวหนังไม่ว่าจะเป็นผด ผื่น สะเก็ดเงิน ผิวหนังแตกหยาบ ไมเกรนจะทำให้เหงื่อออกน้อย

อ้างอิง

  • นิตยสารชีวจิต ฉบับวันที่ 16 พศจิกายน 2551

แหล่งข้อมูลอื่น