ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สภาขุนนาง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: pnb:ہاؤس آف لارڈز
TjBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: ta:பிரபுக்கள் அவை
บรรทัด 125: บรรทัด 125:
[[sr:Дом лордова]]
[[sr:Дом лордова]]
[[sv:Brittiska överhuset]]
[[sv:Brittiska överhuset]]
[[ta:பிரபுக்கள் அவை]]
[[tr:Lordlar Kamarası]]
[[tr:Lordlar Kamarası]]
[[uk:Палата лордів Великої Британії]]
[[uk:Палата лордів Великої Британії]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:24, 6 มีนาคม 2556

สภาขุนนางแห่งสหราชอาณาจักร

The House of Lords of the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland
ไฟล์:House of Lords Crowned Portcullis.jpg
ประเภท
ประเภท
ผู้บริหาร
บารอนเนส ฟรานเซส ดี ซูซ่า (Baroness Frances D'Souza)
ตั้งแต่ 1 กันยายน ค.ศ. 2011
โธมัส กัลเบรธ (Thomas Galbraith), Conservative
ตั้งแต่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 2010
บารอนเนส เจเนท รอยัล (Baroness Janet Royall), Labour
ตั้งแต่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 2010
โครงสร้าง
สมาชิก788 ที่นั่ง
(+21 ที่นั่งที่ใช้สิทธิลาไม่เข้าร่วมประชุม หรือสมาชิกที่ไม่เข้าเกณฑ์การเข้าประชุม)
กลุ่มการเมือง
ฝ่ายรัฐบาล
  •   Con (218)
  •   Lib Dem (591)

ฝ่ายค้าน

พรรคร่วมฝ่ายค้าน

ที่ประชุม
ผนังห้องตกแต่งด้วยไม้ มีเพดานที่สูงโปร่ง ประกอบด้วยเบาะที่นั่งสีแดงชาด และบัลลังก์สีทอง
พระราชวังเวสต์มินสเตอร์
เว็บไซต์
http://www.parliament.uk/lords/

สภาขุนนาง[1] (อังกฤษ: House of Lords) เป็น สภาสูงในรัฐสภาแห่งอังกฤษ ประกอบด้วยสมาชิกสภาขุนนาง ซึ่งในภาษาอังกฤษเดิมเรียกว่า "Peer" และปัจจุบันว่า "Lord" ทั้งหมดกว่าเจ็ดร้อยคน ทุกคนมาจากการแต่งตั้ง เข้าคู่กับ สภาสามัญชนซึ่งเป็นสภาล่าง สมาชิกสภาสามัญชนทั้งหมดมาจากการเลือกตั้ง

สภาขุนนางจะแยกเป็นอิสระจากสภาสามัญชน โดยมีอำนาจถ่วงดุลและตรวจสอบการทำงานของรัฐสภา โดยเฉพาะการพิจารณาเพื่อผ่านร่างกฎหมาย โดยสภาขุนนางมีอำนาจที่จะระงับการบังคับใช้กฎหมายได้ในระยะเวลาหนึ่ง เพื่อให้รัฐบาล สภาสามัญชน และประชาชนร่วมกันพิจารณาถึงความจำเป็นของร่างกฎหมายนั้นๆอย่างรอบคอบ สภาขุนนางยังมีหน้าที่พิทักษ์รัฐธรรมนูญ และป้องกันมิให้มีกฎหมายใดขัดต่อรัฐธรรมนูญ และสิทธิมนุษยชน ซึ่งในประเทศอื่นๆ จะมีศาลรัฐธรรมนูญ ทำหน้าที่แทน

สภาชิกสภาขุนนางแบ่งเป็นสี่ประเภท คือ

  1. ขุนนางตลอดชีพ (Life Peers) - มาจากการแต่งตั้งโดยนายกรัฐมนตรี และจะดำรงตำแหน่งไปตลอดชีวิต ปัจจุบัน สมาชิกประเภทนี้มีจำนวนมากที่สุด
  2. ขุนนางสืบตระกูล (Hereditary Peers) - มาจากการสืบทอดตำแหน่งทางสายโลหิต เดิมสภาขุนนางมีแต่สมาชิกประเภทนี้เท่านั้น ในสมัยหลัง ๆ สมาชิกประเภทนี้ลดจำนวนลง โดย "พระราชบัญญัติรัฐสภา ค.ศ. 1999" (Parliament Act 1999) กำหนดให้มีเพียงเก้าสิบสองคนเท่านั้น ในการนี้ ให้เก้าสิบคนมาจากการสรรหาโดยสมาชิกสืบตระกูลที่ดำรงตำแหน่งอยู่ก่อนแล้ว อีกสองคน คือ "สมุหพระราชวัง" (Great Lord Chamberlain) และ "สมุหพระราชมนเทียร" (Grand Marshal)
  3. ขุนนางจิตวิญญาณ (Spiritual Peers) - มาจากตัวแทนของศาสนา เช่น บิชอปและอาร์คบิชอปต่าง ๆ (ต้องเป็นนิกายแองกลิคันเท่านั้น
  4. ขุนนางกฎหมาย (Law Lords) - เป็นสมาชิกที่มีความรู้ด้านกฎหมาย และทำหน้าที่เป็นตุลาการศาสสูงสุดของสหราชอาณาจักรด้วย มียี่สิบหกคน

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แม่แบบ:Link GA