ข้ามไปเนื้อหา

พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พรรคแรงงาน
Labour Party
หัวหน้าเซอร์ เคียร์ สตาร์เมอร์
รองหัวหน้าแอนเจลา เรย์เนอร์
เลขาธิการเดวิด เอวานส์
ประธานแอนเนลีส ด็อดส์
หัวหน้าขุนนางบาร์รอนเนสสมิธแห่งแบซิลดอน
คำขวัญ"Britain's future" /
"Let's get Britain's future back" (2024)[1][2]
ก่อตั้ง27 กุมภาพันธ์ 1900; 124 ปีก่อน (1900-02-27)[3][4]
(ในนามคณะกรรมการตัวแทนแรงงาน)
ที่ทำการ
ฝ่ายเยาวชนยังเลเบอร์
ฝ่าย LGBTLGBT+ เลเบอร์
สมาชิกภาพ  (ปี 2567)ลดลง 366,604[7]
อุดมการณ์
จุดยืนซ้ายกลาง[17]
กลุ่มระดับสากลพันธมิตรก้าวหน้า
สมาคมพรรคสังคมนิยมสากล (สังเกตการณ์)
กลุ่มในภูมิภาคพรรคสังคมนิยมยุโรป
พรรคที่เกี่ยวข้องพรรคสหกรณ์ (สหราชอาณาจักร)
(แรงงานและสหกรณ์)
ความเกี่ยวข้องอื่น ๆพรรคประชาธิปไตยสังคมนิยมและแรงงาน (ไอร์แลนด์เหนือ)
พรรคแรงงานสังคมนิยมยิบรอลตาร์ (ยิบรอลตาร์)[18]
สี  แดง
เพลง"เดอะเรดแฟลก"
สาขาพรรคที่กระจายอำนาจ
พรรคในรัฐสภาพรรคแรงงานในรัฐสภา (Parliamentary Labour Party; PLP)
สภาสามัญชน
404 / 650
สภาขุนนาง
177 / 786
รัฐสภาสกอตแลนด์
22 / 129
รัฐสภาเวลส์
30 / 60
นายกเทศมนตรีภูมิภาค[nb]
11 / 12
สภาลอนดอน
11 / 25
ผู้บัญชาการตำรวจ
8 / 39
นายกเทศมนตรีเลือกตั้งโดยตรง
10 / 16
สมาชิกสภาท้องถิ่น[nb][19]
6,561 / 18,646
เว็บไซต์
labour.org.uk แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
การเมืองสหราชอาณาจักร
รายชื่อพรรคการเมือง
การเลือกตั้ง
^ นายกเทศมนตรีลอนดอนและนายกเทศมนตรีองค์กรบริหารรวม 11 คน
^ สมาชิกสภาองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น (รวมถึงเทศมนตรี 25 คนในนครลอนดอน) สกอตแลนด์ สภาหลักในเวลส์และสภาท้องถิ่นในไอร์แลนด์เหนือ

พรรคแรงงาน (อังกฤษ: Labour Party) เป็นพรรคการเมืองฝ่ายซ้ายกลางในสหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นหนึ่งในสามพรรคการเมืองใหญ่ของประเทศ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 (ค.ศ. 1900) ซึ่งเก่าแก่ที่สุดในสหราชอาณาจักร โดยเข้าควบรวมพรรคเสรีนิยมในช่วงต้นยุคปี พ.ศ. 2463 และได้จัดตั้งรัฐบาลเสียงข้างน้อยในสภาโดยมีแรมเซย์ แมคโดนัล เป็นนายกรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2467 และระหว่าง พ.ศ. 2472 - 2474 ต่อมาในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พรรคได้ร่วมจัดตั้งรัฐบาลแห่งชาติในภาวะสงครามกับพรรคอนุรักษนิยมระหว่างปี พ.ศ. 2483 - 2488 ต่อมาจึงได้มีโอกาสจัดตั้งรัฐบาลเสียงข้างมากในสภาโดยมีเคลเมนต์ แอตต์ลี เป็นนายกรัฐมนตรี พรรคยังมีโอกาสได้เป็นรัฐบาลในช่วงปี พ.ศ. 2507 - 2513 ภายใต้นายกรัฐมนตรีเฮโรลด์ วิลสัน และช่วงปี พ.ศ. 2517 - 2522 ซึ่งในช่วงแรกภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรีเฮโรลด์ วิลสัน ก่อนที่จะสืบต่อด้วยนายกรัฐมนตรีเจมส์ คัลลาฮาน

พรรคแรงงานได้มีโอกาสเป็นรัฐบาลในช่วงปี พ.ศ. 2540 - 2553 ภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรีโทนี แบลร์ และนายกรัฐมนตรีกอร์ดอน บราวน์ เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2540 ด้วยเสียงข้างมากในสภา 179 ที่นั่ง ก่อนจะลดลงมาที่ 169 ที่นั่งในปี พ.ศ. 2544 และ 66 ที่นั่งในปี พ.ศ. 2548 ในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2558 พรรคได้รับคะแนนเสียง 232 ที่นั่งในสภาและดำรงตำแหน่งเป็นฝ่ายค้านในปัจจุบัน พรรคแรงงานเป็นพรรคขนาดใหญ่ในเวลส์และได้รับเสียงมากในสมัชชาแห่งเวลส์และมีเสียงส่วนหนึ่งในรัฐสภาสกอตแลนด์ และยังมีสมาชิกของพรรค 13 คนได้รับเลือกเข้าเป็นสมาชิกรัฐสภายุโรป พรรคแรงงานยังเป็นสมาชิกของสมาคมพรรคสังคมนิยมสากลและพรรคสังคมนิยมยุโรปอีกด้วย

ในปี พ.ศ. 2567 พรรคแรงงานโดยการนำของ เคียร์ สตาร์เมอร์ ชนะการเลือกตั้งในเดือนกรกฎาคมอย่างถล่มทลาย ส่งผลให้สตาร์เมอร์เป็นนายกรัฐมนตรีจากพรรคแรงงานคนแรกในรอบ 14 ปี

อ้างอิง

[แก้]
  1. "National Flag Usage & Straplines". General Election Brand Guidelines 2024 (PDF). Labour party. 2024. p. 6. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2024-02-29. สืบค้นเมื่อ 2024-05-11.
  2. "Labour vow to 'get Britain's future back' as conference kicks off in Liverpool". Sky News (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2024-01-13.
  3. Brivati & Heffernan 2000: "On 27 February 1900, the Labour Representation Committee was formed to campaign for the election of working class representatives to parliament."
  4. Thorpe 2008, p. 8.
  5. O'Shea, Stephen; Buckley, James (8 December 2015). "Corbyn's Labour party set for swanky HQ move". CoStar. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 October 2017. สืบค้นเมื่อ 8 October 2017.
  6. "Contact". Labour Party. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 September 2020. สืบค้นเมื่อ 14 September 2020.
  7. Helm, Toby (30 March 2024). "Labour membership falls by 23,000 over Gaza and green policies". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 30 March 2024.
  8. Worley, Matthew (2009). The Foundation of the British Labour Party: Identities, Cultures, and Perspectives,1900–39. Farnham: Ashgate Publishing. ISBN 978-0-7546-6731-5 – โดยทาง Google Books.
  9. Nordsieck, Wolfram (2019). "United Kingdom". Parties and Elections in Europe. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 October 2012. สืบค้นเมื่อ 21 January 2020.
  10. Adams, Ian (1998). Ideology and Politics in Britain Today (illustrated, reprint ed.). Manchester: Manchester University Press. pp. 144–145. ISBN 978-0-7190-5056-5. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 December 2018. สืบค้นเมื่อ 21 March 2015 – โดยทาง Google Books.
  11. Busky, Donald F. (2000). "Democratic Socialism in Great Britain and Ireland". Democratic Socialism: A Global Survey. Westport, CT: Greenwood Publishing Group. ISBN 978-0-275-96886-1.
  12. Bakker, Ryan; Jolly, Seth; Polk, Jonathan (14 May 2015). "Mapping Europe's party systems: which parties are the most right-wing and left-wing in Europe?". London School of Economics / EUROPP – European Politics and Policy. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 May 2015. สืบค้นเมื่อ 26 May 2015.
  13. Giddens, Anthony (17 May 2010). "The rise and fall of New Labour". New Statesman. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 July 2015. สืบค้นเมื่อ 26 May 2015.
  14. Peacock, Mike (8 May 2015). "The European centre-left's quandary". Reuters. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 May 2015. สืบค้นเมื่อ 26 May 2015. A crushing election defeat for Britain's Labour party has laid bare the dilemma facing Europe's centre-left.
  15. Dahlgreen, Will (23 July 2014). "Britain's changing political spectrum". YouGov. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 May 2015. สืบค้นเมื่อ 26 May 2015.
  16. Budge 2008, pp. 26–27.[ต้องการตรวจสอบความถูกต้อง]
  17. [12][13][14][15][16]
  18. https://archive.today/20140523051814/http://www.gbc.gi/news/news-details.php?id=3695
  19. "Open Council Data UK – compositions councillors parties wards elections". opencouncildata.co.uk.