ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดเบิงกูลู"

พิกัด: 3°48′S 102°15′E / 3.800°S 102.250°E / -3.800; 102.250
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: min:Bengkulu
YFdyh-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: sr:Бенгкулу
บรรทัด 113: บรรทัด 113:
[[ro:Bengkulu (provincie)]]
[[ro:Bengkulu (provincie)]]
[[ru:Бенкулу (провинция)]]
[[ru:Бенкулу (провинция)]]
[[sr:Бенгкулу]]
[[su:Bengkulu]]
[[su:Bengkulu]]
[[sv:Bengkulu (provins)]]
[[sv:Bengkulu (provins)]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:52, 24 กุมภาพันธ์ 2556

เบงกูลู

Bengkulu
ธงของเบงกูลู
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของเบงกูลู
ตรา
ตำแหน่งของเบงกูลูในอินโดนีเซีย
ตำแหน่งของเบงกูลูในอินโดนีเซีย
พิกัด: 3°48′S 102°15′E / 3.800°S 102.250°E / -3.800; 102.250
ประเทศอินโดนีเซีย
Capitalเบงกูลู
การปกครอง
 • GovernorPlt. Ust. Junaidi Hamsyah, S.Ag., M.Pd
พื้นที่
 • ทั้งหมด19,919.33 ตร.กม. (7,690.90 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2010)
 • ทั้งหมด1,813,393 คน
 • ความหนาแน่น91 คน/ตร.กม. (240 คน/ตร.ไมล์)
Demographics
 • Ethnic groupsRejang (60,4%), Javanese (22,3%), Serawai (17,9%), Lembak (4,9%), Pasemah (4,4%), Minangkabau (4,3%), Malay (3,6%), Sundanese (3%), Batak (2%) [1]
 • ReligionIslam
 • LanguagesRejang, Bengkulu, Indonesian
เขตเวลาWIB (UTC+7)
เว็บไซต์bengkuluprov.go.id

จังหวัดเบงกูลู (Bengkulu) หรือเบนคูเลน เป็นเมืองท่าทางตอนใต้ของสุมาตราฝั่งตะวันตก เป็นที่ตั้งสถานีการค้าและป้อมปราการของบริษัทอินเดียตะวันออกแห่งอังกฤษ

ประวัติศาสตร์

ก่อนที่อังกฤษจะเข้ามานั้น เบงกูลูเป็นเมืองเล็กๆอยู่บนเส้นทางเดินเรือผ่านช่องแคบซุนดา ชนส่วนใหญ่เป็นชาวมินังกาเบา ชาวมลายูและชาวชวา เบงกูลูเคบเป็นส่วนหนึ่งของศรีวิชัย เมื่อศรีวิชัยเสื่อมลงก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรมินังกาเบาในสุมาตราตะวันตกต่อมาอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรมัชปาหิต และเมื่อศาสนาอิสลามแพร่มาถึงบริเวณนี้ ชาวเบงกูลูส่วนใหญ่ก็หันมานับถือศาสนาอิสลาม

จนถึง พ.ศ. 2225 เมื่อเนเธอร์แลนด์ได้ครองอำนาจในบันเตน และขับไล่ชาวอังกฤษออกมา บริษัทอินเดียตะวันออกแห่งอังกฤษได้เสาะหาทำเลใหม่ ก่อนจะเลือกเบงกูลูเป็นที่ตั้งสถานีการค้าแห่งใหม่ และได้แผ่ขยายอิทธิพลออกไปยังบริเวณใกล้เคียง เช่น นาตัล ตับปานูลี ปาดัง เนเธอร์แลนด์พยายามคัดค้านแต่ไม่มาสามารถต่อต้านอังกฤษได้ เบงกูลูได้กลายเป็นคู่แข่งของเมืองจาการ์ตาที่อยู่ภายใต้การควบคุมของเนเธอร์แลนด์ในที่สุด หลังจากสงครามในยุโรปสิ้นสุดลงใน พ.ศ. 2358 อังกฤษได้ประนีประนอมกับเนเธอร์แลนด์ และนำไปสู่การทำสนธิสัญญาใน พ.ศ. 2367 อังกฤษยกเบงกูลูให้เนเธอร์แลนด์ และเนเธอร์แลนด์จะยกดินแดนของเนเธอร์แลนด์ในคาบสมุทรมลายูให้อังกฤษ

หลังจากเบงกูลูมาอยู่ภายใต้การปกครองของเนเธอร์แลนด์แล้ว กลับหมดความสำคัญทางการค้า กลายเป็นสถานที่ใช้กักขังนักโทษ เมื่ออินโดนีเซียได้รับเอกราช เบงกูลูได้เป็นจังหวัดหนึ่งของอินโดนีเซีย

อ้างอิง

  1. Bengkulu Lumbung Nasionalis yang Cair. http://epaper.kompas.com. February 11, 2009. {{cite book}}: แหล่งข้อมูลอื่นใน |publisher= (help)
  • สุพรรณี กาญจนัษฐิติ. เบงกูลู ใน สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่: เอเชีย เล่ม 1 อักษร A-B ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กทม.ราชบัณฑิตยสถาน. 2539. หน้า 427 – 430