ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หีนยาน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Zambo (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนทางไปที่ เถรวาท
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''หีนยาน''' ([[ภาษาบาลี|บาลี]]; {{lang-sa|हीनयान}} ''Hīnayāna'') แปลว่า ยานชั้นเลวหรือยานชั้นต่ำ เป็นคำที่คณาจารย์ฝ่าย[[มหายาน]]ใช้เรียกแนวการปฏิบัติใด ๆ ใน[[ศาสนาพุทธ]]ที่ไม่ได้ยึดแนวทางแบบ[[พระโพธิสัตว์]] แต่เน้นการปฏิบัติเพื่อ[[วิมุตติ|ความหลุดพ้น]]เฉพาะตนแบบพระ[[สาวก]]หรือ[[พระปัจเจกพุทธเจ้า]] จึงเรียกอีกอย่างว่า[[สาวกยาน]]และปัจเจกยาน ต่างจาก[[มหายาน]]ซึ่งเป็นแนวทางที่เน้นให้ผู้ปฏิบัติเป็น[[พระโพธิสัตว์]]บำเพ็ญบารมีมุ่งบรรลุเป็น[[พระพุทธเจ้า]] เพื่อจะได้ช่วยเหลือสรรพสัตว์จำนวนมากได้พ้นทุกข์ตามไปด้วย แนวทางอย่างหลังนี้จึงเรียกว่า [[มหายาน]] แปลว่ายานใหญ่<ref>เสถียร โพธินันทะ, ''ปรัชญามหายาน'', พิมพ์ครั้งที่ 5, กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2548, หน้า 1-3 </ref>
#เปลี่ยนทาง [[เถรวาท]]

== ต้นกำเนิด ==
คำว่า “หีนยาน” และ “มหายาน” ปรากฏครั้งแรกในคัมภีร์ปรัชญาปารมิตาสูตร<ref name=" The Terms Hinayana and Mahayana">Berzin, Alexander. [http://www.berzinarchives.com/web/en/archives/study/comparison_buddhist_traditions/theravada_hinayana_mahayana/terms_hinayana_mahayana.html The Terms Hinayana and Mahayana]. The Berzin Archives, เผยแพร่วันที่ 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2545, เรียกข้อมูลวันที่ ตุลาคม พ.ศ. 2555</ref> เพื่อหมายถึง ต่อมามีคณาจารย์พระพุทธศาสนาช่วงพุทธศตวรรษที่ 6 ได้ปฏิรูปคำสอนและการปฏิบัติในพระพุทธศาสนา โดยถือเอาวิถีทางพระโพธิสัตว์เป็นอุดมคติแทนที่การบรรลุเป็นพระอรหันต์ในชาตินี้<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 331-2</ref> ซึ่งเป็นแนวปฏิบัติดั้งเดิมที่มีมาตั้งแต่[[ศาสนาพุทธยุคแรก]] จึงเรียกกลุ่มตนเองว่า '''มหายาน''' และเรียกกลุ่มเดิมว่า '''หีนยาน''' โดยมีนิกายเถรวาทเป็นหนึ่งในนั้น อย่างไรก็ตามหีนยานกลุ่มที่มหายานวิพากษ์วิจารณ์มากที่สุดคือนิกาย[[สรวาสติวาท]] (ซึ่งต่อมาได้แตกออกเป็น[[ไวภาษิกะ]]และ[[เสาตรานติกะ]])<ref name=" The Terms Hinayana and Mahayana "/>

พระพุทธศาสนา 18 นิกายที่ฝ่ายมหายานถือว่าเป็นฝ่ายหีนยาน ได้แก่
{|width="100%"
|-valign="top"
|width="50%"|
*[[เถรวาท]]/[[วิภัชชวาท]]
**[[มหีศาสกะ]]
***[[สรวาสติวาท]]
****[[กาศยปียะ]]
*****[[สังกันติกะ]]
******[[เสาตรานติกะ]]
***[[ธรรมคุปต์]]
**[[วาตสีปุตรียะ]]
***[[ธรรโมตตรียะ]]
***[[ภัทรยานียะ]]
***[[สันนาคริกะ]]
***[[สางมิตียะ]]
|width="50%"|
*[[มหาสังฆิกะ]]
**[[โคกุลิกะ]]
***[[ปรัชญัปติวาท]]
***[[พหุศรุตียะ]]
**[[เอกัพยาวหาริกะ]]
**[[ไจติกะ]]
|}

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

[[หมวดหมู่:นิกายในศาสนาพุทธ]]

[[ar:هينايانا]]
[[bg:Хинаяна]]
[[ca:Hinayana]]
[[cs:Hínajána]]
[[da:Hinayana]]
[[de:Hinayana]]
[[en:Hinayana]]
[[es:Hinayana]]
[[et:Hinajaana]]
[[eo:Hinajano]]
[[fa:هینه‌یانه]]
[[fr:Bouddhisme hīnayāna]]
[[ko:소승불교]]
[[hi:हीनयान]]
[[id:Hinayana]]
[[it:Hīnayāna]]
[[ky:Хинаяна]]
[[lt:Hinajana]]
[[hu:Hínajána]]
[[mzn:هینه‌یانه]]
[[nl:Hinayana]]
[[ja:小乗]]
[[no:Hinayana]]
[[pl:Hinajana]]
[[pt:Hinaiana]]
[[ru:Хинаяна]]
[[sa:हीनायानम्]]
[[sk:Hínajána]]
[[sr:Хинајана]]
[[fi:Hinajana]]
[[sv:Hinayana]]
[[tl:Hinayana]]
[[tr:Hinayana]]
[[uk:Хінаяна]]
[[vi:Tiểu thừa]]
[[zh:小乘佛教]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:26, 30 ตุลาคม 2555

หีนยาน (บาลี; สันสกฤต: हीनयान Hīnayāna) แปลว่า ยานชั้นเลวหรือยานชั้นต่ำ เป็นคำที่คณาจารย์ฝ่ายมหายานใช้เรียกแนวการปฏิบัติใด ๆ ในศาสนาพุทธที่ไม่ได้ยึดแนวทางแบบพระโพธิสัตว์ แต่เน้นการปฏิบัติเพื่อความหลุดพ้นเฉพาะตนแบบพระสาวกหรือพระปัจเจกพุทธเจ้า จึงเรียกอีกอย่างว่าสาวกยานและปัจเจกยาน ต่างจากมหายานซึ่งเป็นแนวทางที่เน้นให้ผู้ปฏิบัติเป็นพระโพธิสัตว์บำเพ็ญบารมีมุ่งบรรลุเป็นพระพุทธเจ้า เพื่อจะได้ช่วยเหลือสรรพสัตว์จำนวนมากได้พ้นทุกข์ตามไปด้วย แนวทางอย่างหลังนี้จึงเรียกว่า มหายาน แปลว่ายานใหญ่[1]

ต้นกำเนิด

คำว่า “หีนยาน” และ “มหายาน” ปรากฏครั้งแรกในคัมภีร์ปรัชญาปารมิตาสูตร[2] เพื่อหมายถึง ต่อมามีคณาจารย์พระพุทธศาสนาช่วงพุทธศตวรรษที่ 6 ได้ปฏิรูปคำสอนและการปฏิบัติในพระพุทธศาสนา โดยถือเอาวิถีทางพระโพธิสัตว์เป็นอุดมคติแทนที่การบรรลุเป็นพระอรหันต์ในชาตินี้[3] ซึ่งเป็นแนวปฏิบัติดั้งเดิมที่มีมาตั้งแต่ศาสนาพุทธยุคแรก จึงเรียกกลุ่มตนเองว่า มหายาน และเรียกกลุ่มเดิมว่า หีนยาน โดยมีนิกายเถรวาทเป็นหนึ่งในนั้น อย่างไรก็ตามหีนยานกลุ่มที่มหายานวิพากษ์วิจารณ์มากที่สุดคือนิกายสรวาสติวาท (ซึ่งต่อมาได้แตกออกเป็นไวภาษิกะและเสาตรานติกะ)[2]

พระพุทธศาสนา 18 นิกายที่ฝ่ายมหายานถือว่าเป็นฝ่ายหีนยาน ได้แก่

อ้างอิง

  1. เสถียร โพธินันทะ, ปรัชญามหายาน, พิมพ์ครั้งที่ 5, กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2548, หน้า 1-3
  2. 2.0 2.1 Berzin, Alexander. The Terms Hinayana and Mahayana. The Berzin Archives, เผยแพร่วันที่ 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2545, เรียกข้อมูลวันที่ ตุลาคม พ.ศ. 2555
  3. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 331-2