ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทาร์เซียร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WikitanvirBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: be:Даўгапяты
FoxBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต เพิ่ม: ga:Tarsaire
บรรทัด 74: บรรทัด 74:
[[fi:Kummituseläimet]]
[[fi:Kummituseläimet]]
[[fr:Tarsius]]
[[fr:Tarsius]]
[[ga:Tarsaire]]
[[he:קופיפים]]
[[he:קופיפים]]
[[hr:Avetnjaci]]
[[hr:Avetnjaci]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:03, 5 กุมภาพันธ์ 2555

ทาร์เซียร์
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: 45–0Ma ปลายไอโอซีนถึงปัจจุบัน
ทาร์เซียฟิลิปปินส์ (Tarsius syrichta)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Primates
อันดับย่อย: Haplorrhini
อันดับฐาน: Tarsiiformes
วงศ์: Tarsiidae
Gray, 1825
สกุล: Tarsius
Storr, 1780
ชนิดต้นแบบ
Tarsius tarsier
Erxleben, 1777
ชนิด
ดูในเนื้อหา
ชื่อพ้อง
  • Cephalopachus Swainson, 1835
  • Hypsicebus Lesson, 1840
  • Macrotarsus Link, 1795
  • Rabienus Gray, 1821

ทาร์เซีย (อังกฤษ: Tarsier, ตากาล็อก: Mamag) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับไพรเมตที่วิวัฒนาการมาจากยุคไอโอซีนจนมาถึงยุคปัจจุบัน ที่มีรูปร่างลักษณะไม่เปลี่ยนแปลงจากเดิมมากนัก

มีเพียงวงศ์เดียว คือ Tarsiidae และสกุลเดียวเท่านั้น คือ Tarsius[1]

ทาร์เซียจัดเป็นไพรเมตที่มีจมูกแห้ง เป็นสัตว์เฉพาะถิ่น ที่ปัจจุบันเหลืออยู่จำนวนน้อยพบกระจายอยู่เฉพาะที่เกาะบอร์เนียว, สุมาตรา, สุลาเวสี ในประเทศอินโดนีเซีย และหมู่เกาะฟิลิปปิน ทาร์เซียมีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากไพรเมตจำพวกอื่นคือมีขนาดเล็กมากโดยมีน้ำหนักตัวเพียง 80-150 กรัม ขนาดความยาวลำตัวไม่นับหางราว 5 นิ้วเท่านั้น แต่มีหางที่เรียวยาวเป็น 2 เท่าของความยาวลำตัว มีเบ้าตาขนาดใหญ่มาก มีกระดูกข้อเท้าหลังที่ยาวใช้ในการกระโดดและกระโดดได้ไกล มีนิ้วมือเรียวยาวมาก และมีเล็บแบน เว้นแต่นิ้วที่ 2-3 จะมีกรงเล็บ และสามารถหมุนคอได้ 180 องศา ส่วนใหญ่อาศัยโดยเกาะอยู่ตามต้นไม้ กินแมลงเป็นอาหาร และหากินในเวลากลางคืน[2]

ทาร์เซียในยุคก่อนประวัติศาสตร์ได้สูญพันธุ์ไปแล้วมีทั้งหมด 3 ชนิด โดยมี 2 ชนิดที่สามารถพบได้ในประเทศไทย[3] ได้แก่

ส่วนทาร์เซียที่ยังสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน มีทั้งหมด 9 ชนิด ได้แก่

อ้างอิง

  1. จาก ITIS.gov
  2. พบฟอสซิล ลิง“ทาร์เซีย สิรินธร” 13 ล้านปี จากกรุงเทพธุรกิจ
  3. ชัยมณี, เยาวลักษณ์ (2546). ฟอสซิลไพรเมตชั้นสูงในประเทศไทย (PDF). กรมทรัพยากรธรณี.
  4. Nowak, R.M. (1999). Walker's Mammals of the World (6th ed.). Johns Hopkins University Press. pp. 94–97. ISBN 0801857899.
  5. Chiamanee, Y., Lebrun, R., Yamee, C., and Jaeger, J.-J. (2010). "A new Middle Miocene tarsier from Thailand and the reconstruction of its orbital morphology using a geometric–morphometric method". Proceedings of the Royal Society B: Biological Sciences: –. doi:10.1098/rspb.2010.2062.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  6. Tarsius lariang จากIUCN
  7. Tarsius pumilus จาก IUCN

แม่แบบ:Link GA