ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาตองลาย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
บริการเปลี่ยนหมวดหมู่อัตโนมัติด้วยบอต
Mjbmrbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: vi:Royal Knifefish
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
[[หมวดหมู่:ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำโขง|ตองลาย]]
[[หมวดหมู่:ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำโขง|ตองลาย]]
[[หมวดหมู่:ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำน่าน|ตองลาย]]
[[หมวดหมู่:ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำน่าน|ตองลาย]]

{{commons|Category:Chitala blanci}}


[[en:Royal Knifefish]]
[[en:Royal Knifefish]]
[[pt:Peixe-faca-real]]
[[pt:Peixe-faca-real]]
[[sr:Chitala blanci]]
[[sr:Chitala blanci]]
[[vi:Royal Knifefish]]
{{commons|Category:Chitala blanci}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:59, 28 มีนาคม 2554

ตองลาย
ปลาตองลาย
ภาพในแสตมป์ไทย
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Actinopterygii
อันดับ: Osteoglossiformes
วงศ์: Notopteridae
สกุล: Chitala
สปีชีส์: C.  blanci
ชื่อทวินาม
Chitala blanci
(d'Aubenton, 1965)
ชื่อพ้อง
  • Notopterus blanci

ตองลาย ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chitala blanci อยู่ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) มีรูปร่างเหมือนปลาทั่วไปในวงศ์นี้ แต่มีส่วนหลังและหน้าผากลาดชันน้อยกว่าปลากราย สีลำตัวเป็นสีเงินแวววาว ลำตัวด้านท้ายมีลายจุดและขีดจำนวนไม่แน่นอนคาดเฉียงค่อนข้างเป็นระเบียบ มีขนาดประมาณ 60 ซ.ม. ใหญ่สุด 1 เมตร

พบเฉพาะแม่น้ำโขงและลำน้ำสาขาที่ไหลสู่แม่น้ำโขง โดยมีรายงานพบเมื่อปี พ.ศ. 2510 และมีรายงานพบที่แม่น้ำน่านด้วยเมื่อไม่นานมานี้ ซึ่งถือว่าเป็นมีแค่เพียงสองแหล่งนี้ในโลกเท่านั้น เป็นปลาที่หายากชนิดหนึ่ง แต่ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม

อ้างอิง