ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ป้อมฮวาซ็อง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: no:Hwaesong
GK3033 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
|ลิงก์=http://whc.unesco.org/en/list/817
|ลิงก์=http://whc.unesco.org/en/list/817
}}
}}
'''ป้อมฮวาซอง''' (Hwaseong Fortress) ตั้งอยู่ที่[[เมืองซูวอน]] ประเทศ[[เกาหลีใต้]]สร้างขึ้นในช่วง ค.ศ. 1794 - 1796 โดย[[พระเจ้าจองโจ]]แห่ง[[ราชวงศ์โชซอน]] เพื่อใช้เป็นที่ประทับและเป็นที่ฝังพระศพของ[[องค์ชายรัชทายาทจังฮอน]] ([[องค์ชายซาโด]]) ที่ถูกพระบิดาคือ[[พระเจ้ายองโจ]]ซึ่งเป็นพระอัยกาของพระเจ้าจองโจลงโทษโดยการขังองค์ชายไว้ในถังข้าว ให้อดข้าวอดน้ำพอผ่านไป 7 วันจนสิ้นพระชนม์ภายในถังข้าว
'''ป้อมฮวาซอง''' (Hwaseong Fortress) ตั้งอยู่ที่[[เมืองซูวอน]] ทางตอนใต้ของ[[กรุงโซล]] ประเทศ[[สาธารณรัฐเกาหลี]] สร้างขึ้นในช่วง ค.ศ. 1794 - 1796 โดย[[พระเจ้าจองโจ]] พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 22 แห่งราชอาณาจักรโชซอน เพื่อใช้เป็นที่ประทับและเป็นที่ฝังพระศพของ[[องค์ชายรัชทายาทจังฮอน]] ([[องค์ชายซาโด]]) ที่ถูกพระอัยกาของพระองค์ ([[พระเจ้ายองโจ]]) ลงโทษโดยการขังองค์ชายไว้ในถังข้าวและให้อดข้าวอดน้ำ พอผ่านไป 7 วันจึงสิ้นพระชนม์ภายในถังข้าว

ป้อมฮวาซองมีพืนที่ถึง 30 ตารางกิโลเมตรโดยตั้งอยู่ทางใต้ของกรุง[[โซล]]
(พ.ศ. 2540)


==มรดกโลก==
==มรดกโลก==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:11, 23 ตุลาคม 2553

ป้อมฮวาซ็อง *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

ป้อมฮวาซอง (Hwaseong Fortress) ตั้งอยู่ที่เมืองซูวอน ทางตอนใต้ของกรุงโซล ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี สร้างขึ้นในช่วง ค.ศ. 1794 - 1796 โดยพระเจ้าจองโจ พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 22 แห่งราชอาณาจักรโชซอน เพื่อใช้เป็นที่ประทับและเป็นที่ฝังพระศพขององค์ชายรัชทายาทจังฮอน (องค์ชายซาโด) ที่ถูกพระอัยกาของพระองค์ (พระเจ้ายองโจ) ลงโทษโดยการขังองค์ชายไว้ในถังข้าวและให้อดข้าวอดน้ำ พอผ่านไป 7 วันจึงสิ้นพระชนม์ภายในถังข้าว

มรดกโลก

ป้อมฮวาซองได้รับจดทะเบียนให้เป็นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 21 เมื่อปี พ.ศ. 2528 ที่เนเปิลส์ ประเทศอิตาลี โดยผ่านข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาให้เป็นแหล่งมรดกโลก ดังนี้

  • (ii) - เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลยิ่ง ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสืบต่อมาในด้านการออกแบบทางสถาปัตยกรรม อนุสรณ์สถาน ประติมากรรม สวน และภูมิทัศน์ ตลอดจนการพัฒนาศิลปกรรมที่เกี่ยวข้อง หรือการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ซึ่งได้เกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือบนพื้นที่ใดๆ ของโลกซึ่งทรงไว้ซึ่งวัฒนธรรม
  • (iii) - เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว