ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โกลเดนโกล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: ar:هدف ذهبي
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: it:Golden goal; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 18: บรรทัด 18:


{{เรียงลำดับ|กโกลเดนโกล}}
{{เรียงลำดับ|กโกลเดนโกล}}

[[หมวดหมู่:กติกาฟุตบอล]]
[[หมวดหมู่:กติกาฟุตบอล]]


บรรทัด 33: บรรทัด 34:
[[he:שער הזהב (כדורגל)]]
[[he:שער הזהב (כדורגל)]]
[[id:Gol emas]]
[[id:Gol emas]]
[[it:Golden gol]]
[[it:Golden goal]]
[[ja:ゴールデンゴール]]
[[ja:ゴールデンゴール]]
[[nl:Golden goal]]
[[nl:Golden goal]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:19, 27 เมษายน 2553

โกลเดนโกล (อังกฤษ: Goalden goal) หรือ กฎประตูทอง เป็นกติกาในกีฬาฟุตบอลไว้ตัดสินหาผู้ชนะ ในเกมที่ต้องตัดสินผลแพ้ชนะ และการแข่งขันในเกมเสมอกันในช่วงเวลาปกติ (90 นาที) ปัจจุบันกฎนี้ไม่ถูกใช้ในเกมการแข่งขันของฟีฟ่าอีกต่อไปแล้ว

ถ้าใช้กฎโกลเดนโกล ในช่วงต่อเวลาพิเศษอีกครึ่งละ 15 นาทีนั้น ถ้าทีมไหนยิงประตูได้ก่อน ทีมนั้นจะชนะไปเลยโดยไม่ต้องแข่งขันต่อ แต่ถ้ายังยิงประตูกันไม่ได้จนหมดเวลา ก็จะเข้าสู่ช่วงยิงลูกโทษเพื่อหาผู้ชนะ

กฎนี้ถูกคิดขึ้นโดยฟีฟ่าใน ค.ศ. 1993 โดยใช้แทนคำว่า "ซัดเดน เดธ" (sudden death) เนื่องจากมีความหมายที่ค่อนข้างไปในทางลบ กฎนี้ถูกใช้ครั้งแรกในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป ปี 1996 และฟุตบอลโลก 1998

การแข่งขันครั้งแรกที่มีการยิงโกลเดนโกลคือ นัดระหว่างออสเตรเลียกับอุรุกวัย ในเดือนมีนาคม 1993 ในรอบก่อนรองชนะเลิศของการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนโลก สำหรับการแข่งขันสำคัญที่ตัดสินกันด้วยโกลเดนโกลคือรอบชิงชนะเลิศของยูโร 1996 โดยโอลิเวอร์ เบียร์ฮอฟฟ์ ผู้เล่นของเยอรมนี ยิงโกลเดนโกลเอาชนะสาธารณรัฐเช็ค

กฎโกลเดนโกลมีจุดหมายเพื่อกระตุ้นให้เกิดการเล่นแบบรวดเร็วและชาญฉลาด และหลีกเลี่ยงการตัดสินด้วยจุดโทษ แต่ได้รับเสียงวิจารณ์ว่าทำให้ทีมเล่นฟุตบอลแบบเน้นการป้องกันมากขึ้น เพื่อลดโอกาสความพ่ายแพ้

ใน ค.ศ.​2002 ยูฟ่าได้นำกฎซิลเวอร์โกลมาใช้แทน โดยจะคล้ายกับกฎโกลเด้นโกล แต่จะไม่หยุดเกมเมื่อมีทีมยิงประตูได้ โดยจะเล่นจนจบครึ่งแรกของการต่อเวลาพิเศษแทน

ในปี 2004 ทางฟีฟ่าได้ยกเลิกกฎโกลเดนโกลหลังการแข่งขันยูโร 2004ที่ประเทศโปรตุเกส

ดูเพิ่ม