ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''ภาษากลุ่มอิหร่านตะวันตก'''เป็นกลุ่มย่อยของ[[ภาษากลุ่มอิหร่า...
 
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
ประกอบด้วยภาษาที่ใกล้เคียงกัน 16 ภาษา และสำเนียงต่างๆ แบ่งย่อยได้เป็น
ประกอบด้วยภาษาที่ใกล้เคียงกัน 16 ภาษา และสำเนียงต่างๆ แบ่งย่อยได้เป็น
* สำเนียงลูรี ได้แก่ [[ภาษาลูรี]] [[ภาษากุมากรี]]
* สำเนียงลูรี ได้แก่ [[ภาษาลูรี]] [[ภาษากุมากรี]]
* ภาษาเปอร์เซีย สำเนียงต่างๆ ได้แก่ ภาษาเปอร์เซียมาตรฐาน สำเนียงอิหร่านสมัยใหม่ สำเนียงดารี สำเนียงทาจิกิ ภาษาอายมัก ภาษาบูโตรี ภาษาดัรวาซี ภาษาเดห์วารี ภาษาซิดี ภาษาฮาซารากี ภาษายิวซิราซี ภาษาเปอร์เซียดูเซสถาน ภาษาลารี ภาษาปะห์ลาวานี
* ภาษาเปอร์เซีย สำเนียงต่างๆ ได้แก่ [[ภาษาเปอร์เซียโบราณ]] [[ภาษาเปอร์เซียกลาง]] ภาษาเปอร์เซียมาตรฐาน สำเนียงอิหร่านสมัยใหม่ [[ภาษาดารีเปอร์เซีย]] สำเนียงทาจิกิ [[ภาษาอายมัก]] [[ภาษาบูโครี]] [[ภาษาดัรวาซี]] [[ภาษาเดห์วารี]] [[ภาษาซิดี]] [[ภาษาฮาซารากี]] [[ภาษายิวซิราซี]] [[ภาษาเปอร์เซียดูเซสถาน]] [[ภาษาลารี]] [[ภาษาปะห์ลาวานี]]
* สำเรียงตัต ได้แก่ ภาษายัวตัต ภาษาตัต
* สำเนียงตัต ได้แก่ [[ภาษายัวตัต]] [[ภาษาตัต]]

==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
*Compendium Linguarum Iranicarum, ed. Schmitt (1989), p. 99.
*Compendium Linguarum Iranicarum, ed. Schmitt (1989), p. 99.

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:30, 26 ธันวาคม 2552

ภาษากลุ่มอิหร่านตะวันตกเป็นกลุ่มย่อยของภาษากลุ่มอิหร่าน แบ่งได้อีกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ ภาษากลุ่มอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือและภาษากลุ่มอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้

ภาษากลุ่มอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือ

มีผู้พูด 40 - 50 ล้านคนในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ แบ่งได้เป็น 9 กลุ่ม ภาษายุคโบราณของกลุ่มนี้คือภาษาเมเดีย ภาษาในยุคกลางคือภาษาพาร์เทียน

ภาษาที่จัดจำแนกไม่ได้คือภาษาลากี ซึ่งเป็นภาษาที่อยู่ระหว่างภาษาลูรีในกลุ่มอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้กับภาษาเคิร์ดในกลุ่มอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือ

ภาษากลุ่มอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้

ประกอบด้วยภาษาที่ใกล้เคียงกัน 16 ภาษา และสำเนียงต่างๆ แบ่งย่อยได้เป็น

อ้างอิง

  • Compendium Linguarum Iranicarum, ed. Schmitt (1989), p. 99.