ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าสามกรม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ฉัตรา (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ฉัตรา (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ความหมายอื่น|เจ้าสามกรมในสมัยกรุงศรีอยุธยา|เจ้าสามกรมสมัยอื่น|เจ้าสามกรม (แก้ความกำกวม)}}
{{ความหมายอื่น|เจ้าสามกรมในสมัยกรุงศรีอยุธยา|เจ้าสามกรมสมัยอื่น|เจ้าสามกรม (แก้ความกำกวม)}}
'''เจ้าสามกรม''' เป็นคำเรียกพระราชโอรส 3 พระองค์ใน[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]ที่ประสูติแต่พระสนม ได้แก่ '''กรมหมื่นจิตรสุนทร กรมหมื่นสุนทรเทพ''' และ '''กรมหมื่นเสพภักดี''' พระองค์เจ้าทั้ง 3 พระองค์เป็นพระราชโอรสที่มีพระชันษาเป็นผู้ใหญ่และมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเสด็จสวรรคตของ[[กรมพระราชวังบวรเสนาพิทักษ์]] (เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร) ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เจ้าสามกรมถูก[[สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์]]ทั้ง 3 พระองค์
'''เจ้าสามกรม''' เป็นคำเรียกพระราชโอรส 3 พระองค์ใน[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]ที่ประสูติแต่พระสนม ได้แก่ '''กรมหมื่นจิตรสุนทร กรมหมื่นสุนทรเทพ''' และ '''กรมหมื่นเสพภักดี''' พระองค์เจ้าทั้ง 3 พระองค์เป็นพระราชโอรสที่มีพระชันษาเป็นผู้ใหญ่และมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเสด็จสวรรคตของ[[กรมพระราชวังบวรเสนาพิทักษ์]] (เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร) ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เจ้าสามกรมถูก[[สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์]]ทั้ง 3 พระองค์
บรรทัด 11: บรรทัด 10:


เจ้าสามกรมไม่ทรงถูกกับ[[กรมพระราชวังบวรเสนาพิทักษ์]] สาเหตุหนึ่งมาจากการที่กรมพระราชวังบวรมีพระบัณฑูรให้ตำรวจมานำตัวเจ้ากรม ปลัดกรมและนายเวรปลัดเวรของเจ้าสามกรมมาถามความว่า เจ้ากรมนั้นเป็นแต่หมื่น เหตุใดจึงตั้ง[[บรรดาศักดิ์ไทย|บรรดาศักดิ์]]กันในกรมให้เป็นขุนซึ่งนับว่าทำสูงเกินว่าศักดิ์ จึงมีพระบัณฑูรให้ลงพระราชอาญาโบยหลังคนละ 15 ทีบ้างคนละ 20 ทีบ้าง
เจ้าสามกรมไม่ทรงถูกกับ[[กรมพระราชวังบวรเสนาพิทักษ์]] สาเหตุหนึ่งมาจากการที่กรมพระราชวังบวรมีพระบัณฑูรให้ตำรวจมานำตัวเจ้ากรม ปลัดกรมและนายเวรปลัดเวรของเจ้าสามกรมมาถามความว่า เจ้ากรมนั้นเป็นแต่หมื่น เหตุใดจึงตั้ง[[บรรดาศักดิ์ไทย|บรรดาศักดิ์]]กันในกรมให้เป็นขุนซึ่งนับว่าทำสูงเกินว่าศักดิ์ จึงมีพระบัณฑูรให้ลงพระราชอาญาโบยหลังคนละ 15 ทีบ้างคนละ 20 ทีบ้าง

หลังจากนั้นไม่นาน กรมหมื่นสุนทรเทพทำเรื่องกราบทูลสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวเป็นการลับว่า พระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรเสด็จเข้ามาลอบทำชู้กับเจ้าฟ้านิ่มและเจ้าฟ้าสังวาลย์ถึงในพระราชวังหลายครั้ง สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชดำรัสให้หาพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรเพื่อนำตัวมาสอบความ เมื่อพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรรับเป็นสัจแล้ว จึงมีพระราชดำรัสลงพระราชอาญาเฆี่ยน แล้วให้เสนาบดีและลูกขุนพิพากษาโทษ ท้าวพระยามุขมนตรีและลูกขุนกราบบังคมทูลว่า โทษของพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรเป็นมหันตโทษขอพระราชทานให้[[สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์]]ตามขัตติยประเพณี สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวตรัสขอชีวิตไว้แต่ให้นาบพระนลาถแล้วถอดให้เป็นไพร่เสีย ส่วนเจ้าฟ้านิ่มและเจ้าฟ้าสังวาลย์ให้ลงพระราชอาญาเฆี่ยนองค์ละ 30 ที พร้อมทั้งถอดเป็นไพร่เช่นกัน เจ้าฟ้าสังวาลย์อยู่ได้ 3 วันก็สิ้นพระชนม์ ส่วนพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรต้องรับพระราชอาญาเฆี่ยนและเสด็จสวรรคตลง สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสให้นำพระศพทั้งสองไปฝังยัง[[วัดไชยวัฒนาราม]]

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* {{cite book
| last =
| first =
| authorlink =
| title = [[พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา]] ภาค 2
| publisher =
| series = สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พิมพ์ขึ้นเป็นส่วนพระราชกุศลทานมัยในงานพระศพ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวรเสฐสุดา, พระอรรคชายาเธอ กรมขุนอรรควรราชกัญญา, สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนพิจิตรเจษฎจันทร์ และสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี
| year = [[พ.ศ. 2455]]
| doi =
| isbn =
}}


{{เรียงลำดับ|จ}}
{{เรียงลำดับ|จ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:29, 15 พฤศจิกายน 2552

เจ้าสามกรม เป็นคำเรียกพระราชโอรส 3 พระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศที่ประสูติแต่พระสนม ได้แก่ กรมหมื่นจิตรสุนทร กรมหมื่นสุนทรเทพ และ กรมหมื่นเสพภักดี พระองค์เจ้าทั้ง 3 พระองค์เป็นพระราชโอรสที่มีพระชันษาเป็นผู้ใหญ่และมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเสด็จสวรรคตของกรมพระราชวังบวรเสนาพิทักษ์ (เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร) ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เจ้าสามกรมถูกสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ทั้ง 3 พระองค์

พระประวัติ

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศมีพระราชโอรสที่ประสูติแต่พระสนมหลายพระองค์ซึ่งพระราชโอรสชั้นพระองค์เจ้าที่มีพระชันษาที่ถือว่าเป็นผู้ใหญ่มี 4 พระองค์ด้วยกัน ได้แก่ พระองค์เจ้าแขก พระองค์เจ้ามังคุด พระองค์เจ้ารถ และพระองค์เจ้าปาน ภายหลังการเสด็จขึ้นครองราชสมบัติแห่งกรุงศรีอยุธยาของสมเด็จพระราชบิดาของพระองค์แล้ว พระองค์เจ้าทั้ง 4 พระองค์ได้รับการสถาปนาให้ทรงกรม ได้แก่

  • พระองค์เจ้าแขก ได้รับการสถาปนาที่ กรมหมื่นเทพพิพิธ
  • พระองค์เจ้ามังคุด ได้รับการสถาปนาที่ กรมหมื่นจิตรสุนทร
  • พระองค์เจ้ารถ ได้รับการสถาปนาที่ กรมหมื่นสุนทรเทพ
  • พระองค์เจ้าปาน ได้รับการสถาปนาที่ กรมหมื่นเสพภักดี

เจ้าสามกรมไม่ทรงถูกกับกรมพระราชวังบวรเสนาพิทักษ์ สาเหตุหนึ่งมาจากการที่กรมพระราชวังบวรมีพระบัณฑูรให้ตำรวจมานำตัวเจ้ากรม ปลัดกรมและนายเวรปลัดเวรของเจ้าสามกรมมาถามความว่า เจ้ากรมนั้นเป็นแต่หมื่น เหตุใดจึงตั้งบรรดาศักดิ์กันในกรมให้เป็นขุนซึ่งนับว่าทำสูงเกินว่าศักดิ์ จึงมีพระบัณฑูรให้ลงพระราชอาญาโบยหลังคนละ 15 ทีบ้างคนละ 20 ทีบ้าง

หลังจากนั้นไม่นาน กรมหมื่นสุนทรเทพทำเรื่องกราบทูลสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวเป็นการลับว่า พระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรเสด็จเข้ามาลอบทำชู้กับเจ้าฟ้านิ่มและเจ้าฟ้าสังวาลย์ถึงในพระราชวังหลายครั้ง สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชดำรัสให้หาพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรเพื่อนำตัวมาสอบความ เมื่อพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรรับเป็นสัจแล้ว จึงมีพระราชดำรัสลงพระราชอาญาเฆี่ยน แล้วให้เสนาบดีและลูกขุนพิพากษาโทษ ท้าวพระยามุขมนตรีและลูกขุนกราบบังคมทูลว่า โทษของพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรเป็นมหันตโทษขอพระราชทานให้สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ตามขัตติยประเพณี สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวตรัสขอชีวิตไว้แต่ให้นาบพระนลาถแล้วถอดให้เป็นไพร่เสีย ส่วนเจ้าฟ้านิ่มและเจ้าฟ้าสังวาลย์ให้ลงพระราชอาญาเฆี่ยนองค์ละ 30 ที พร้อมทั้งถอดเป็นไพร่เช่นกัน เจ้าฟ้าสังวาลย์อยู่ได้ 3 วันก็สิ้นพระชนม์ ส่วนพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรต้องรับพระราชอาญาเฆี่ยนและเสด็จสวรรคตลง สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสให้นำพระศพทั้งสองไปฝังยังวัดไชยวัฒนาราม

อ้างอิง

  • พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ภาค 2. สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พิมพ์ขึ้นเป็นส่วนพระราชกุศลทานมัยในงานพระศพ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวรเสฐสุดา, พระอรรคชายาเธอ กรมขุนอรรควรราชกัญญา, สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนพิจิตรเจษฎจันทร์ และสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี. พ.ศ. 2455. {{cite book}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |year= (help)