ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มิโคยัน มิก-27"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ms:Mikoyan MiG-27
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{กล่องข้อมูล อากาศยาน
[[ภาพ:Mig-27.jpg|มิก-27|thumb|250px|right]]
|ชื่อ = มิก-27
'''มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-27''' (Mikoyan-Gurevich MiG-27) มิก-27 (ฟลอกเกอร์-ดี)ได้รับการพัฒนาขึ้นมาจาก[[มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-23|มิก-23]] มีลักษณะคล้ายกับมิก-23 แต่จะแตกต่างกันเพียงลักษณะของช่องรับอากาศ ท่อท้ายเครื่องยนต์ และ อุปกรณ์อีเล็กทรอนิกส์ [[เครื่องบิน]] มิก-27 ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อภาระกิจโจมตีขับไล่ซึ่งแตกต่างจากมิก-23 มิก-27 เริ่มประจำการใน[[กองทัพอากาศ]][[สหภาพโซเวียต]]ในปี [[ค.ศ. 1974]] <ref name="มิก-27"/>
|ภาพ = [[File:MiG-27.jpg|300px]]
|บทบาท = [[เครื่องบินขับไล่โจมตี]]
|สัญชาติ = {{flagcountry|สหภาพโซเวียต}}
|บริษัทผู้ผลิต = [[มิโคยัน]]
|บินครั้งแรก = [[20 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2513]]
|เริ่มใช้ = พ.ศ. 2518
|ปลดประจำการ = พ.ศ. 2533 (รัสเซีย)
|สถานะ = ประจำการในผู้ใช้ต่างชาติ
|ผู้ใช้งานหลัก = [[กองทัพอากาศรัสเซีย]]<br/>[[กองทัพอากาศอินเดีย]]<br/>[[กองทัพอากาศศรีลังกา]]
|ช่วงการผลิต = พ.ศ. 2513-2529
|จำนวนที่ผลิต = 1,075 ลำ<ref>[http://www.globalsecurity.org/military/world/russia/mig-27.htm มิก-27]</ref>
|พัฒนามาจาก = [[มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-23]]
}}

'''มิโคยัน มิก-27''' ({{lang-en|''Mikoyan MiG-27'' Flogger-D/J}}, {{lang-ru|''Микоян и Гуревич МиГ-27''}}) ([[นาโต้]]ใช้ชื่อรหัสว่า'''ฟลอกเกอร์-ดี/เจ''') เป็น[[เครื่องบินโจมตีภาคพื้นดิน]]ที่สร้างโดยสำนักงานออกแบบ[[มิโคยัน]]ของ[[สหภาพโซเวียต]]และต่อมาถูกผลิตใต้ใบอนุญาตโดย[[อินเดีย]]ใช้ชื่อว่า'''บาฮาดูร''' (''Bahadur'') แปลว่าผู้กล้า อย่างไรก็ตามมันไม่เหมือนมิก-23 มิก-27 นั้นไม่ถูกใช้อย่างแพร่หลายนักนอกจากรัสเซีย ประเทศส่วนมากใช้กลับใช้[[มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-23|มิก-23บีเอ็น]]และ[[ซุคฮอย ซู-25]] แทน ในปัจจุบันมันประจำการอยู่ในอินเดียและศรีลังกาเท่านั้น ส่วนของรัสเซียและยูเครนนั้นได้ปลดประจำการแล้ว




== รายละเอียด มิก-27 ==
== รายละเอียด มิก-27 ==
[[ภาพ:MiG-27 FLOGGER D, J (MIKOYAN-GUREVICH).png|300px|right]]
*'''ผู้สร้าง''' (โรงงานสร้างอากาศยานแห่งสหภาพโซเวียต) ปัจจุบันคือ[[สำนักงานมิโคยัน-กูเรวิชค์]]
*'''ผู้สร้าง''' (โรงงานสร้างอากาศยานแห่งสหภาพโซเวียต) ปัจจุบันคือ[[สำนักงานมิโคยัน-กูเรวิชค์]]
*'''ประเภท''' เจ๊ตขับไล่โจมตีทางยุทธวิธี ที่นั่งเดียว เปลี่ยนมุมลู่ปีกได้
*'''ประเภท''' เจ๊ตขับไล่โจมตีทางยุทธวิธี ที่นั่งเดียว เปลี่ยนมุมลู่ปีกได้
บรรทัด 29: บรรทัด 43:
<references/>
<references/>


[[หมวดหมู่:เครื่องบิน]]
[[หมวดหมู่:เครื่องบินมิโคยัน]]
[[หมวดหมู่:อากาศยานทางการทหาร]]
[[หมวดหมู่:อากาศยานทางการทหาร]]
[[หมวดหมู่:เครื่องบินขับไล่]]
[[หมวดหมู่:เครื่องบินขับไล่]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:09, 1 พฤษภาคม 2552

มิก-27
บทบาทเครื่องบินขับไล่โจมตี
ชาติกำเนิด สหภาพโซเวียต
บริษัทผู้ผลิตมิโคยัน
บินครั้งแรก20 สิงหาคม พ.ศ. 2513
เริ่มใช้พ.ศ. 2518
ปลดประจำการพ.ศ. 2533 (รัสเซีย)
สถานะประจำการในผู้ใช้ต่างชาติ
ผู้ใช้งานหลักกองทัพอากาศรัสเซีย
กองทัพอากาศอินเดีย
กองทัพอากาศศรีลังกา
ช่วงการผลิตพ.ศ. 2513-2529
จำนวนที่ผลิต1,075 ลำ[1]
พัฒนามาจากมิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-23

มิโคยัน มิก-27 (อังกฤษ: Mikoyan MiG-27 Flogger-D/J, [Микоян и Гуревич МиГ-27] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟลอกเกอร์-ดี/เจ) เป็นเครื่องบินโจมตีภาคพื้นดินที่สร้างโดยสำนักงานออกแบบมิโคยันของสหภาพโซเวียตและต่อมาถูกผลิตใต้ใบอนุญาตโดยอินเดียใช้ชื่อว่าบาฮาดูร (Bahadur) แปลว่าผู้กล้า อย่างไรก็ตามมันไม่เหมือนมิก-23 มิก-27 นั้นไม่ถูกใช้อย่างแพร่หลายนักนอกจากรัสเซีย ประเทศส่วนมากใช้กลับใช้มิก-23บีเอ็นและซุคฮอย ซู-25 แทน ในปัจจุบันมันประจำการอยู่ในอินเดียและศรีลังกาเท่านั้น ส่วนของรัสเซียและยูเครนนั้นได้ปลดประจำการแล้ว


รายละเอียด มิก-27

  • ผู้สร้าง (โรงงานสร้างอากาศยานแห่งสหภาพโซเวียต) ปัจจุบันคือสำนักงานมิโคยัน-กูเรวิชค์
  • ประเภท เจ๊ตขับไล่โจมตีทางยุทธวิธี ที่นั่งเดียว เปลี่ยนมุมลู่ปีกได้
  • เครื่องยนต์ เทอร์โบแฟน ตูมันสกาย ให้แรงขับสถิต 7,025 กิโลกรัม และ 9,300 กิโลกรัม เมื่อใช้สันดาปท้าย 1 เครื่อง
  • กางปีก 14.25 เมตร เมื่อกางปีกเต็มที่
    • 8.38 เมตร เมื่อลู่ปีกเต็มที่
  • พื้นที่ปีก 27.26 ตารางเมตร
  • น้ำหนักเปล่า ประมาณ 8,165 กิโลกรัม
  • น้ำหนักวิ่งขึ้นปกติ 16,000 กิโลกรัม
  • อัตราเร็ว 1.5 มัค ที่ระยะสูง 12,000 เมตร
    • 1.2 มัค ที่ระยะสูง 305 เมตร
  • รัศมีทำการรบ 1,000 กิโลเมตร เมื่อบิน สูง-ต่ำ-สูง
    • 350 กิโลเมตร เมื่อบิน ต่ำ-ต่ำ-ต่ำ
  • พิสัยบินปกติ 2,500 กิโลเมตร
  • พิสัยบินไกลสุด 4,200 กิโลเมตร เมื่อติดตั้งถังเชื้อเพลิงปลดทิ้งได้
  • อาวุธ ปืนใหญ่อากาศ ชนิดลำกล้องหมุนได้ 6 ลำกล้อง ขนาด 23 มม. 1 กระบอก
    • อาวุธปล่อยอากาศสู่พื้น เอเอส-7 เคอร์รี่ 4 นัด หรือ ลูกระเบิด
  • รวม น้ำหนัก 3,000 กิโลกรัม ที่ใต้ลำตัว 3 แห่ง และ ใต้ปีก 2 แห่ง

[2]

อ้างอิง

  1. มิก-27
  2. อภิวัตน์ โควินทรานนท์,อากาศยาน1979ฉบับเครื่องบิน,เอวิเอชั่น ออบเซิร์ฟเวอร์,กรุงเทพ,2522