ตำรวจติดอาวุธประชาชน
กองกำลังตำรวจติดอาวุธประชาชนจีน 中国人民武装警察部队 จงกั๋วเหรินหมินอู่จวงจิ่งฉาปู้ตุ้ย | |
---|---|
เครื่องหมายแขนไหล่ | |
เครื่องหมายเฮลิคอปเตอร์ | |
ตราสัญลักษณ์ | |
ธงประจำกองกำลัง | |
ชื่อทางการ | 武警部队 (Wǔjǐng Bùduì; "กองกำลังตำรวจติดอาวุธ") |
คำขวัญ | รับใช้ประชาชนด้วยความเต็มใจ |
ข้อมูลองค์กร | |
ก่อตั้ง | 19 มิถุนายน พ.ศ. 2525; 42 ปีก่อน |
หน่วยงานก่อนหน้า |
|
เจ้าหน้าที่ | 1,500,000 นาย |
สภาพบุคคล | องค์กรกึ่งทหาร, องค์กรบังคับใช้กฎหมาย |
โครงสร้างเขตอำนาจ | |
หน่วยงานแห่งชาติ (เขตอำนาจในการปฏิบัติการ) | จีน |
เขตอำนาจในการปฏิบัติการ | จีน |
เขตอำนาจตามกฎหมาย | สาธารณรัฐประชาชนจีน |
ส่วนปกครอง | คณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง |
บัญญัติตราสาร |
|
เขตอำนาจเฉพาะทาง |
|
สำนักงานใหญ่ | เขตไห่เตี้ยน กรุงปักกิ่ง |
ผู้บริหารหน่วยงาน |
|
หน่วยงานปกครอง | คณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง |
เว็บไซต์ | |
chinamil.com.cn |
กองกำลังตำรวจติดอาวุธประชาชนจีน | |||||||
อักษรจีนตัวย่อ | 中国人民武装警察部队 | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวเต็ม | 中國人民武裝警察部隊 | ||||||
| |||||||
ตำรวจติดอาวุธประชาชน | |||||||
อักษรจีนตัวย่อ | 人民武装警察 | ||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 人民武裝警察 | ||||||
| |||||||
ตำรวจติดอาวุธจีน | |||||||
อักษรจีนตัวย่อ | 中国武警 | ||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 中國武警 | ||||||
| |||||||
Short form | |||||||
อักษรจีนตัวย่อ | 武警[部队] | ||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 武警[部隊] | ||||||
ความหมายตามตัวอักษร | ตำรวจติดอาวุธ [กองกำลัง] | ||||||
|
กองกำลังตำรวจติดอาวุธประชาชนจีน (จีน: 中国人民武装警察部队; พินอิน: Zhōngguó Rénmín Wǔzhuāng Jǐngchá Bùduì; อังกฤษ: People's Armed Police; PAP) เป็นองค์กรกองกำลังกึ่งทหารของจีน[1] : 121 มีหน้าที่รับผิดชอบในด้านความมั่นคงภายใน การปราบจลาจล การต่อต้านการก่อการร้าย การบรรเทาสาธารณภัย การบังคับใช้กฎหมาย และการคุ้มครองสิทธิทางทะเลเป็นหลัก[2] รวมถึงการให้การสนับสนุนกองทัพบกกองทัพปลดปล่อยประชาชนในยามเกิดสงคราม[3]: 87
ตำรวจติดอาวุธประชาชนเป็นกองกำลังกึ่งทหารพิเศษที่ขึ้นตรงต่อคณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง ต่างจากตำรวจประชาชน (จีน: 人民警察; พินอิน: Rénmín Jǐngchá) เจ้าหน้าที่และทหารขององค์กรจะสวมเครื่องแบบสีเขียวมะกอกเข้ม ซึ่งแตกต่างจากเครื่องแบบสีเขียวต้นสนของกองทัพปลดปล่อยประชาชน หรือเครื่องแบบสีน้ำเงินและสีดำของตำรวจประชาชน
มีการประเมินว่าตำรวจติดอาวุธประชาชนมีกำลังทหารทั้งหมด 1.5 ล้านนาย องค์กรปัจจุบันจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2525 แต่กองกำลังรักษาความปลอดภัยที่คล้ายกันได้ดำเนินการมาก่อนแล้วนับตั้งแต่ก่อตั้งประเทศในปี พ.ศ. 2492
ในยุคเหมา ตํารวจติดอาวุธประชาชนอดีตคือกองกําลังความมั่นคงสาธารณะประชาชนจีน สังกัดกระทรวงความมั่นคงสาธารณะ ต่อมาคือกองกําลังความมั่นคงสาธารณะ สังกัดกองทัพปลดปล่อยประชาชน[4] นักวิชาการทั้งในจีนและต่างประเทศต่างเปรียบเทียบตำรวจติดอาวุธประชาชนกับสารวัตรทหารของหลายประเทศ ที่มีชื่อเสียงที่สุดคือสารวัตรทหารฝรั่งเศส[5] แต่แรงบันดาลใจหลักของการจัดตั้งและการดําเนินงานของตํารวจติดอาวุธประชาชนมาจากกองกำลังภายในของสหภาพโซเวียต และกองกำลังกึ่งทหารในกลุ่มตะวันออก เช่น ตำรวจประชาชนของเยอรมนีตะวันออก ซึ่งปรับให้เข้ากับวัฒนธรรมการทหาร และความคิดที่เฉพาะเจาะจงของผู้นําพรรคคอมมิวนิสต์จีน[6]
ประวัติ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ภารกิจและการปฏิบัติการ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
โครงสร้าง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การศึกษา
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กองกำลังเคลื่อนที่
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กองกำลังภายใน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กองกำลังชายแดน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
หน่วยยามฝั่ง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
หน่วยตำรวจพิเศษ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การสื่อสาร
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุทธภัณฑ์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ชั้นยศและเครื่องอิสริยาภรณ์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Sun, Ivan Y.; Wu, Yuning (December 2009). "The Role of the People's Armed Police in Chinese Policing". Asian Journal of Criminology (ภาษาอังกฤษ). 4 (2): 107–128. doi:10.1007/s11417-008-9059-y. ISSN 1871-0131.
- ↑ "Top legislature passes armed police law". China Daily. 2009-08-27. สืบค้นเมื่อ 2019-10-04.
- ↑ Blasko, Dennis J. (2006). The Chinese Army today : tradition and transformation for the 21st century (2nd ed.). London: Routledge. ISBN 0415770025. OCLC 68694731.
- ↑ Xia, Mingxing; Zhang, Ning; Zhu, Xiongnan (16 August 2017). "毛泽东关心武警部队早期建设纪事" [Mao Zedong cares about the early construction of the armed police force]. People's Daily Online. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 December 2017. สืบค้นเมื่อ 23 June 2019.
- ↑ Bao Xiaoyan and Zhang Tingyu: "Comparison of the Leadership System of the Armed Police Force and the French Gendarmerie", in "Journal of the Armed Police Command Academy" 2010, Issue 5
- ↑ Xia Yong, Gendarmerie as a Law Enforcement Force: Type Comparison and Enlightenment, "Rules of Law Research", 2016, Issue 3, page 110