คูเรียม
หน้าตา
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
คูเรียม | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การอ่านออกเสียง | /ˈkjʊəriəm/ | ||||||||||||||
รูปลักษณ์ | โลหะสีเงิน | ||||||||||||||
เลขมวล | [247] | ||||||||||||||
คูเรียมในตารางธาตุ | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
คาบ | คาบที่ 7 | ||||||||||||||
บล็อก | บล็อก-f | ||||||||||||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Rn] 5f7 6d1 7s2 | ||||||||||||||
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น | 2, 8, 18, 32, 25, 9, 2 | ||||||||||||||
สมบัติทางกายภาพ | |||||||||||||||
วัฏภาค ณ STP | ของแข็ง | ||||||||||||||
จุดหลอมเหลว | 1613 K (1340 °C, 2444 °F) | ||||||||||||||
จุดเดือด | 3383 K (3110 °C, 5630 °F) | ||||||||||||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 13.51 g/cm3 | ||||||||||||||
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว | ? 15 kJ/mol | ||||||||||||||
ความดันไอ
| |||||||||||||||
สมบัติเชิงอะตอม | |||||||||||||||
เลขออกซิเดชัน | +3, +4, +5,[1] +6[2] (ออกไซด์เป็นแอมโฟเทริก) | ||||||||||||||
อิเล็กโตรเนกาทิวิตี | Pauling scale: 1.3 | ||||||||||||||
รัศมีอะตอม | empirical: 174 pm | ||||||||||||||
รัศมีโคเวเลนต์ | 169±3 pm | ||||||||||||||
เส้นสเปกตรัมของคูเรียม | |||||||||||||||
สมบัติอื่น | |||||||||||||||
โครงสร้างผลึก | เฮกซะโกนัลปิดบรรจุ | ||||||||||||||
สภาพต้านทานไฟฟ้า | 1.25[3] µ Ω⋅m | ||||||||||||||
ความเป็นแม่เหล็ก | แอนติเฟอโรแมกเนติก→พาราแมกเนติก เปลี่ยนที่อุณหภูมิ 52 เคลวิน[3] | ||||||||||||||
เลขทะเบียน CAS | 7440-51-9 | ||||||||||||||
ประวัติศาสตร์ | |||||||||||||||
การค้นพบ | เกลนน์ ที. ซีบอร์ก, ราฟ เอ. เจมส์, อัลเบิร์ต เกอร์โซ (1944) | ||||||||||||||
ไอโซโทปของคูเรียม | |||||||||||||||
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของคูเรียม | |||||||||||||||
คูเรียม (อังกฤษ: Curium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 96 และสัญลักษณ์คือ Cm คูเรียมเป็นธาตุโลหะกัมมันตภาพรังสี เป็นธาตุที่สังเคราะห์ขึ้นโดยการยิงพลูโตเนียมด้วยอนุภาคแอลฟ่า (ฮีเลียมไอออน) คูเรียมเป็นธาตุในกลุ่มแอกทิไนด์ (actinide) คูเรียมตั้งชื่อตามมารี กูรีและสามีของเธอ ปิแอร์ กูรี
สารประกอบ
[แก้]สารประกอบคูเรียมมีดังนี้:
- คูเรียม ไดออกไซด์ (curium dioxide (CmO2)) ,
- คูเรียม ไทรออกไซด์ (curium trioxide (Cm2O3)) ,
- คูเรียม ไตรโบรไมด์ (curium bromide (CmBr3)) ,
- คูเรียม ไตรคลอไรด์ (curium chloride (CmCl3)) ,
- คูเรียม เททระฟลูออไรด์ (curium tetrafluoride (CmF4))
- คูเรียม ไตรไอโอไดด์ (curium iodide (CmI3)).
- ↑ Kovács, Attila; Dau, Phuong D.; Marçalo, Joaquim; Gibson, John K. (2018). "Pentavalent Curium, Berkelium, and Californium in Nitrate Complexes: Extending Actinide Chemistry and Oxidation States". Inorg. Chem. American Chemical Society. 57 (15): 9453–9467. doi:10.1021/acs.inorgchem.8b01450. OSTI 1631597. PMID 30040397. S2CID 51717837.
- ↑ Domanov, V. P.; Lobanov, Yu. V. (October 2011). "Formation of volatile curium(VI) trioxide CmO3". Radiochemistry. SP MAIK Nauka/Interperiodica. 53 (5): 453–6. doi:10.1134/S1066362211050018. S2CID 98052484.
- ↑ 3.0 3.1 Schenkel, R (1977). "The electrical resistivity of 244Cm metal". Solid State Communications. 23 (6): 389. Bibcode:1977SSCom..23..389S. doi:10.1016/0038-1098(77)90239-3.