กือแยวอ-แปแชร์สกาลาวรา

พิกัด: 50°26′3″N 30°33′33″E / 50.43417°N 30.55917°E / 50.43417; 30.55917
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กือเยวอ-แปแชร์สกาลาวรา
Ки́єво-Пече́рська ла́вра
กือเยวอ-แปแชร์สกาลาวราตั้งอยู่ในประเทศยูเครน
กือเยวอ-แปแชร์สกาลาวรา
กือเยวอ-แปแชร์สกาลาวรา
50°26′3″N 30°33′33″E / 50.43417°N 30.55917°E / 50.43417; 30.55917
ที่ตั้งเขตแปแชสก์ เคียฟ
ประเทศประเทศยูเครน
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ
ประวัติ
อุทิศแก่อารามแห่งถ้ำ
สถาปัตยกรรม
สถาปนิกแฟออดอซีย์แห่งเคียฟ, อันตอนีย์แห่งเคียฟ
รูปแบบสถาปัตย์บาโรกยูเครน
ปีสร้าง1051
การปกครอง
มุขมณฑลคริสตจักรออร์ทอดอกซ์ยูเครน อัครบิดรมอสโก
ชื่อทางการเคียฟ: อาสนวิหารนักบุญโซเฟียและสิ่งปลูกสร้างอารามที่เกี่ยวข้อง และกือแยวอ-แปแชร์สกาลาวรา
ที่ตั้งยุโรป
เกณฑ์พิจารณาi, ii, iii, iv
อ้างอิง527
ขึ้นทะเบียน1990 (สมัยที่ 14)

กือแยวอ-แปแชร์สกาลาวรา[1] (ยูเครน: Ки́єво-Пече́рська ла́вра, อักษรโรมัน: Kýievo-Pechérska lávra; รัสเซีย: Ки́ево-Пече́рская ла́вра, อักษรโรมัน: Kíyevo-Pechérskaya lávra), หมู่อารามกือยิว-แปแชสก์ (อังกฤษ: Kyiv-Pechersk Lavra)[2][3][4] หรือ หมู่อารามถ้ำเคียฟ เป็นอารามคริสต์อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ตั้งอยู่ในเขตแปแชร์สกึย กรุงเคียฟ ประเทศยูเครน

อารามเริ่มตั้งขึ้นเป็นอารามถ้ำในปี 1051[5] และนับจากนั้นกลายเป็นศูนย์กลางอำนาจของคริสต์อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ในยุโรปตะวันออก ยูเนสโกขึ้นทะเบียนหมู่อารามและอาสนวิหารนักบุญโซเฟียในเคียฟให้เป็นแหล่งมรดกโลก[6][nb 1]

ปัจจุบัน สถานะนิติบุคคลของหมู่อารามแบ่งเป็นส่วนพิพิธภัณฑ์ของรัฐชื่อ แหล่งอนุรักษ์ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งชาติกือยิว-แปแชสก์ (National Kyiv-Pechersk Historic-Cultural Preserve)[8] และโบสถ์กับอารามภายใต้สังกัดของคริสตจักรยูเครนออร์ทอดอกซ์ อัครบิดรมอสโก รวมถึงเป็นที่พำนักของคริสตจักร ซึ่งเป็นตำแหน่งที่เรียกว่าออนูฟรึย เมโตรโปลิตันแห่งเคียฟและยูเครนทั้งปวง[9][10]

หมายเหตุ[แก้]

  1. Late 2010 a monitoring mission of UNESCO was visiting the Kyiv Pechersk Lavra to check on situation of the site. At the time the Minister of Culture Mykhailo Kulynyak stated the historic site along with the Saint Sophia Cathedral was not threatened by the "black list" of the organisation.[7] The World Heritage Committee of UNESCO decided in June 2013 that Kyiv Pechersk Lavra, and St. Sofia Cathedral and related monastery buildings would remain on the World Heritage List.[6]

อ้างอิง[แก้]

  1. Parliament votes down law on preservation of Kyiv Pechersk Lavra complex Interfax-Ukraine, 16 June 2010 at 10:42
  2. Verkhovna Rada Portal เก็บถาวร 27 กรกฎาคม 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  3. Centre, UNESCO World Heritage. "Kyiv: Saint-Sophia Cathedral and Related Monastic Buildings, Kyiv-Pechersk Lavra". UNESCO World Heritage Centre (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-07-26.
  4. "Правильное написание столицы Украины на английском языке закреплено в документе ЮНЕСКО - МИД Украины". gordonua.com (ภาษารัสเซีย). 2019-07-09. สืบค้นเมื่อ 2019-07-26.
  5. Magocsi P.R. A History of Ukraine. University of Toronto Press: Toronto, 1996. p 98.
  6. 6.0 6.1 Kyiv Pechersk Lavra, St. Sophia Cathedral remain on UNESCO’s World Heritage List, Interfax-Ukraine (20 June 2013)
  7. ""Софії Київській та Києво-Печерській лаврі "чорний список" ЮНЕСКО не загрожує" – Міністр культури Михайло Кулиняк". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 กรกฎาคม 2015. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2017.
  8. "Сайт Національного Києво-Печерського історико-культурного заповідника". www.kplavra.kyiv.ua. สืบค้นเมื่อ 23 June 2017.
  9. "General information — Kyiv Holy Dormition Caves Lavra". 14 November 2016. สืบค้นเมื่อ 9 December 2019.
  10. "Head of UOC led solemnities on Synaxis of Near Caves' Venerable Fathers". Kyiv Holy Dormition Caves Lavra. 11 October 2019. สืบค้นเมื่อ 12 December 2019.

บรรณานุกรม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]