การประมวลภาษาธรรมชาติ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปัญญาประดิษฐ์

ศัพท์ปัญญาประดิษฐ์

GOFAI
การค้นหาในปริภูมิสถานะ
การวางแผนอัตโนมัติ
การค้นหาเชิงการจัด
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
การแทนความรู้
ระบบอิงความรู้
Connectionism
ข่ายงานประสาทเทียม
ชีวิตประดิษฐ์
ปัญญาประดิษฐ์แบบกระจาย
การเขียนโปรแกรมเชิงพันธุกรรม
ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม
ปัญญากลุ่ม
Artificial beings
Bayesian methods
เครือข่ายแบบเบย์
การเรียนรู้ของเครื่อง
การรู้จำแบบ
ระบบฟัซซี
ตรรกศาสตร์คลุมเครือ
ฟัซซีอิเล็กทรอนิกส์
Philosophy
ปัญญาประดิษฐ์แบบเข้ม
สำนึกประดิษฐ์
การทดสอบทัวริง

การประมวลภาษาธรรมชาติ (Natural language processing - NLP) เป็นสาขาย่อยของภาษาศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมสารสนเทศ และปัญญาประดิษฐ์ ทำการศึกษาการปฏิสัมพันธ์ระหว่างภาษาคอมพิวเตอร์และภาษา (ธรรมชาติ) มนุษย์ ในเชิงที่โปรแกรมคอมพิวเตอร์สามารถดำเนินการวิเคราะห์และแปลงข้อมูลภาษาธรรมชาติได้

การประมวลภาษาธรรมชาติมีการกล่าวถึงในปี พ.ศ. 2493 โดยแอลัน ทัวริง นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได้เสนอการทดสอบคอมพิวเตอร์หรือเครื่องจักรที่สามารถคิดหรือกระทำได้เหมือนมนุษย์ ซึ่งวิธีการนั้นในปัจจุบันถูกเรียกว่าการทดสอบทัวริง

ในปัจจุบันการประมวลภาษาธรรมชาติมีการนิยมใช้ขั้นตอนการเรียนรู้เชิงคุณลักษณะและการเรียนรู้เชิงลึก[1][2] ที่สามารถให้ผลลัพธ์ที่ออกมาได้ดี ตัวอย่างเช่นในแบบจำลองภาษา[3] โดยได้มีการเปรียบเทียบกับวิธีการดั้งเดิมที่ใช้การประมวลผลภาษาธรรมชาติเชิงสถิติ หรือการประมวลผลตามกฎที่วางไว้

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

เก็บถาวร 2020-07-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

อ้างอิง[แก้]

  1. Goldberg, Yoav (2016). "A Primer on Neural Network Models for Natural Language Processing". Journal of Artificial Intelligence Research. 57: 345–420. arXiv:1807.10854. doi:10.1613/jair.4992.
  2. Goodfellow, Ian; Bengio, Yoshua; Courville, Aaron (2016). Deep Learning. MIT Press.
  3. Jozefowicz, Rafal; Vinyals, Oriol; Schuster, Mike; Shazeer, Noam; Wu, Yonghui (2016). Exploring the Limits of Language Modeling. arXiv:1602.02410. Bibcode:2016arXiv160202410J.