การต่อสู้อย่างประปรายจีน–อินเดีย พ.ศ. 2563

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การต่อสู้อย่างประปรายจีน–อินเดีย พ.ศ. 2563
ส่วนหนึ่งของ ข้อพิพาทพรมแดนจีนกับอินเดีย

แผนที่ CIA ของแคชเมียร์
วันที่5 พฤษภาคม 2020 – ปัจจุบัน
สถานที่
เส้นควบคุมแท้จริง (LAC),
พรมแดนจีน-อินเดีย
สถานะ ดำเนินอยู่
คู่สงคราม
 อินเดีย  จีน
[1]
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

ราม นาถ โกวินท์
(ประธานาธิบดีอินเดีย)

นเรนทระ โมที
(นายกรัฐมนตรีอินเดีย)
ราชนาถ สิงห์ (Defence Minister of India)
Gen Bipin Rawat
(Chief of Defence Staff)
Gen Manoj Mukund Naravane
(Chief of the Army Staff)
Lt Gen Yogesh Kumar Joshi
(GOC-in-C, Northern Command)
สี จิ้นผิง
(เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน, ประธานาธิบดี และ CMC Chairman)[2]
Xu Qiliang
(CMC Vice Chairman)
Zhang Youxia
(CMC Vice Chairman)
Han Weiguo
(Commander, PLA Ground Force)
Zhang Shulin
(Commander, PLA Ground Force Western Theater Command)[3]
หน่วยที่เกี่ยวข้อง

 กองทัพอินเดีย

ตำรวจชายแดนอินเดีย-ทิเบต

 กองทัพจีน

ความสูญเสีย

แหล่งข่าวอินเดีย:
บาดเจ็บ 4 ราย (10 พ.ค.)[4][5]
เสียชีวิต 20[3]
สูญหาย 34[6]
(15 มิ.ย.)


แหล่งข่าวอินเดีย:
บาดเจ็บ 7 (10 พ.ค.)[4]
เสียชีวิต 43 (15 มิ.ย.)[7][8]

แหล่งข่าวที่เป็นกลาง:
เสียชีวิต 35 (15 มิ.ย.)[9]

การต่อสู้อย่างประปรายจีน–อินเดีย พ.ศ. 2563 เป็นส่วนหนึ่งของการเผชิญหน้าทางทหารระหว่างประเทศจีนกับประเทศอินเดีย นับตั้งแต่ 5 พฤษภาคม 2020 กองกำลังของจีนและอินเดียได้มีการรายงานว่ามีส่วนร่วมในการปะทะที่เกรี้ยวกราด (aggressive actions), การเผชิญหน้า (face-offs) และการต่อสู้อย่างประปราย (skirmishes) ที่ตำแหน่งบนพรมแดนจีน-อินเดีย เหตุการณ์การต่อสู้มือเปล่าเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2020 ส่งผลให้มีทหารอินเดีย 20 นายเสียชีวิต[10] แหล่งข้อมูลของอินเดียอ้างว่าทหารจีน 43 นายไม่เสียชีวิตก็ได้รับบาดเจ็บสาหัส[11][12][13] เหตุการณ์ต่าง ๆ นั้นเกิดขึ้นบริเวณทะเลสาบปังกงในลาดัก และที่ช่องเขา Nathu La ในสิกขิม นอกจากนี้การเผชิญหน้านั้นยังคงดำเนินอยู่ในพื้นที่ทางตะวันออกของลาดัก ตาม แนวเส้นควบคุมแท้จริง (LAC) ซึ่งเป็นผลมาจากสงครามจีน-อินเดีย เมื่อปี 1962 ล่าสุด กองกำลังจีนได้ต่อต้านการก่อสร้างถนนของอินเดียบนหุบเขา กัลวาน ของอินเดีย[14][15]

ระหว่างการเผชิญหน้านั้น อินเดียได้นำคนงาน 12,000 คนเพิ่มเข้ามาประจำในภูมิภาคเพื่อเร่งการสร้างสาธารณูปโภคของอินเดีย[16][17] รถไฟขบวนแรกบรรทุกคนงาน 1,600 คนจากฌารขัณธ์เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2020 ไปยังอุธมปุระ ที่ซึ่งพวกเขาจะเดินทางไปเพื่อสนับสนุนองค์การถนนชายแดนของอินเดียตรงพรมแดนจีน-อินเดีย[18][19] ผู้เชี่ยวชาญตั้งสมมติฐานว่าการเผชิญหน้านี้เป็นมาตรการชิงลงมือเพื่อตอบโต้กับการสร้างเส้นทาง Darbuk–Shyok–DBO Road ของอินเดียในลาดัก[20] ส่วนประเทศจีนก็พัฒนาและสร้างโครงการด้านสาธารณูปโภค ในภูมิภาคที่มีข้อพิพาทพรมแดนนี้อย่างกว้างขวางเช่นกัน[21][22]

จากการเพิกถอนสถานภาพพิเศษของชัมมูและกัศมีร์ ของรัฐบาลอินเดียในเดือนสิงหาคม 2019 ได้สร้างปัญหาให้กับประเทศจีนด้วย[23] อย่างไรก็ตาม ทั้งจีนและอินเดียยังคงกลไกทวิภาคีเพื่อแก้ปัญหาเหตุการณ์นี้ผ่านทางการทูตลับ ๆ (quiet diplomacy)[24][25] หลังการปะทะประปรายที่หุบ Galwan เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ข้าราชการอินเดียหลายคนได้ระบุว่าความตึงเครียดบนพรมแดนจะไม่ส่งผลต่อการค้าขายระหว่างประเทศ ท่ามกลางการรณรงค์คว่ำบาตรผลิตภัณฑ์จีนในอินเดีย[26][27]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Nepal seems to be following China's road map". 16 June 2020. สืบค้นเมื่อ 16 June 2020.
  2. Li, Nan (26 February 2018). "Party Congress Reshuffle Strengthens Xi's Hold on Central Military Commission". The Jamestown Foundation . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 October 2019. สืบค้นเมื่อ 27 May 2020. Xi Jinping has introduced major institutional changes to strengthen his control of the PLA in his roles as Party leader and chair of the Central Military Commission (CMC)...
  3. 3.0 3.1 Michael Safi and Hannah Ellis-Petersen (16 June 2020). "India says 20 soldiers killed on disputed Himalayan border with China". สืบค้นเมื่อ 16 June 2020.
  4. 4.0 4.1 Vedika Sud; Ben Westcott (11 May 2020). "Chinese and Indian soldiers engage in 'aggressive' cross-border skirmish". CNN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 May 2020. สืบค้นเมื่อ 12 May 2020.
  5. Chauhan, Neha (26 May 2020). "Over 5000 Chinese Soldiers Intrusion in the Indian Territory". The Policy Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 June 2020. สืบค้นเมื่อ 4 June 2020.
  6. "34 Indian soldiers missing in Ladakh after India-China soldiers clashed: report". สืบค้นเมื่อ 16 June 2020.
  7. "China suffered 43 casualties during face-off with India in Ladakh: Report". India Today. 16 June 2020. สืบค้นเมื่อ 17 June 2020.
  8. Chaudhuri, Pooja (17 June 2020). "India-China dispute: 43 Chinese soldiers killed? Media outlets and journalists mislead". Alt News. สืบค้นเมื่อ 17 June 2020.
  9. "India, China Face Off in First Deadly Clash in Decades". USNews. สืบค้นเมื่อ 16 June 2020.
  10. "India soldiers killed in clash with Chinese forces". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 16 June 2020. สืบค้นเมื่อ 16 June 2020.
  11. "China suffered 43 casualties during face-off with India in Ladakh: Report". India Today. 16 June 2020. สืบค้นเมื่อ 17 June 2020.
  12. Commanding Officer of Chinese Unit among those killed in face-off with Indian troops in Galwan Valley
  13. "Chinese military urges India to return to correct track of dialogue, negotiations". People's Daily. 2020-06-17. สืบค้นเมื่อ 2020-06-17.
  14. Philip, Snehesh Alex (24 May 2020). "Chinese troops challenge India at multiple locations in eastern Ladakh, standoff continues". The Print. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 May 2020. สืบค้นเมื่อ 24 May 2020.
  15. Sushant Singh, Chinese intrusions at 3 places in Ladakh, Army chief takes stock เก็บถาวร 30 พฤษภาคม 2020 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, The Indian Express, 24 May 2020.
  16. Singh, Rahul; Choudhury, Sunetra (31 May 2020). "Amid Ladakh standoff, 12,000 workers to be moved to complete projects near China border". Hindustan Times (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 June 2020. สืบค้นเมื่อ 4 June 2020.
  17. "Amid border tension, India sends out a strong message to China". Deccan Herald (ภาษาอังกฤษ). 1 June 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 June 2020. สืบค้นเมื่อ 4 June 2020.
  18. Kumar, Rajesh (14 June 2020). "CM flags off train with 1,600 workers for border projects | Ranchi News – Times of India". The Times of India (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 15 June 2020.
  19. "Special Train Carrying Construction Workers For BRO Work in Ladakh Reaches J&K's Udhampur". CNN-News18. PTI. 15 June 2020. สืบค้นเมื่อ 15 June 2020.{{cite news}}: CS1 maint: others (ลิงก์)
  20. "Indian border infrastructure or Chinese assertiveness? Experts dissect what triggered China border moves". The Indian Express. 26 May 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 June 2020. สืบค้นเมื่อ 26 May 2020.
  21. "China starts construction activities near Pangong Lake amid border tensions with India". Business Today (India). 27 May 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 June 2020. สืบค้นเมื่อ 5 June 2020.
  22. Desai, Shweta (3 June 2020). "Beyond Ladakh: Here's how China is scaling up its assets along the India-Tibet frontier". Newslaundry (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 June 2020. สืบค้นเมื่อ 5 June 2020.
  23. Krishnan, Ananth (12 June 2020). "Beijing think-tank links scrapping of Article 370 to LAC tensions". The Hindu (ภาษาIndian English). ISSN 0971-751X. สืบค้นเมื่อ 15 June 2020.
  24. Chaudhury, Dipanjan Roy (29 May 2020). "India-China activate 5 pacts to defuse LAC tensions". The Economic Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 May 2020. สืบค้นเมื่อ 3 June 2020.
  25. Roche, Elizabeth (8 June 2020). "India, China to continue quiet diplomacy on border dispute". livemint.com (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 June 2020. สืบค้นเมื่อ 9 June 2020.
  26. Suneja, Kirtika; Agarwal, Surabhi (17 June 2020). "Is This Hindi-Chini Bye Bye on Trade Front? Maybe Not: No immediate impact likely on business relations, say govt officials" (print version). The Economic Times.
  27. P, Neelam; ey (2020-06-16). "Traders' body calls for boycott of 3,000 Chinese products over 'continued' border clashes". ThePrint (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2020-06-17.