ข้ามไปเนื้อหา

กฎของรุฟฟีนี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ในคณิตศาสตร์ กฎของรุฟฟีนีคือวิธีการคำนวณการหารแบบยุคลิดของพหุนามด้วยทวินามในรูป ได้รับการอธิบายไว้โดยปาโอโล รุฟฟีนี ใน ค.ศ. 1809[1] กฎนี้เป็นกรณีพิเศษของการหารสังเคราะห์เมื่อตัวหารเป็นตัวประกอบเชิงเส้น

ขั้นตอนวิธี

[แก้]

กฎนี้กำหนดวิธีการหารพหุนาม

ด้วยทวินาม

เพื่อจะได้พหุนามผลหาร

ขั้นตอนวิธีนี้เทียบได้กับการหารยาว ด้วย

การหาร ด้วย

  1. เอาสัมประสิทธิ์ของ แล้วเขียนลงตามลำดับ แล้วเขียน ขอบซ้ายล่างเหนือเส้น

  1. ดึงสัมประสิทธิ์ซ้ายสุด () ลงมาใต้เส้น

  1. คูณจำนวนที่ถูกดึงใต้เส้นด้วย แล้วเขียนผลคูณบนเส้นภายในหลักถัดไปทางขวา

  1. บวกกันภายในหลักที่ได้เขียนตัวเลขไป

  1. ทำขั้นตอนที่ 3 และ 4 ซ้ำไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะถึงขอบขวาสุด

ค่า ต่าง ๆ คือค่าของสัมประสิทธิ์พหุนามผลหาร () ที่มีดีกรีน้อยกว่า อยู่หนึ่ง ค่าสุดท้าย คือเศษเหลือ ทฤษฎีบทเศษเหลือพหุนามบอกไว้ว่าเศษเหลือจะมีค่าเท่ากับ ที่ หรือ

ตัวอย่าง

[แก้]

นี่เป็นตัวอย่างการหารพหนามตามที่ได้อธิบายไว้

ให้

จะถูกหารด้วย โดยใช้กฎของรุฟฟีนี ปัญหาคือ ไม่ได้อยู่ในรูปทวินาม แต่อยู่ในรูป จึงต้องเปลี่ยนรูปโดยการ

ตอนนี้สามารถใช้ขั้นตอนวิธีได้

  1. เขียนสัมประสิทธิ์และ ลงไป สังเกตว่า ไม่มีพจน์ จึงเขียน 0 ลงไปทดแทน

  1. ดึงสัมประสิทธิ์ตัวแรกลง

  1. คูณค่าที่ได้ด้วย

  1. รวมค่าด้วยกัน

  1. ทำซ้ำขั้นตอนที่ 3 และ 4 จนกว่าจะเสร็จ

จาก เมื่อ

และ

การประยุกต์ใช้ในการแยกตัวประกอบ

[แก้]

กฎของรุฟฟีนีใช้ได้เมื่อต้องการจะหาผลหารระหว่างพหุนาม กับทวินามในรูป (ถ้าตองการหาแค่เศษเหลือ ทฤษฎีบทเศษเหลือพหุนามจะเป็นวิธีที่ง่ายกว่า)

ตัวอย่างทั่ว ๆ ไปเมื่อต้องการหาผลหาร คือการแยกตัวประกอบ เมื่อทราบคำตอบ

เศษเหลือของการหารแบบยุคลิดของ ด้วย คือ และถ้าผลหารคือ การหารแบบยุคลิดจะเขียนได้ดังนี้

เป็นการแยกตัวประกอบ (อาจจะบางส่วน) ของ ซึ่งสามารถคำนวณโดยใช้กฎของรุฟฟีนี แล้วสามารถแยกตัวประกอบ ต่อโดยการแยกตัวประกอบ

ทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิตบอกไว้ว่าทุกพหุนามที่มีดีกรีเป็นบวกจะมีคำตอบอย่างน้อยหนึ่งคำตอบที่เป็นจำนวนเชิงซ้อน กระบวนการข้างบนยังแสดงได้ว่าทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิตส่อให้เห็นว่าทุกพหุนามในรูป สามารถแยกตัวประกอบได้เป็น

เมื่อ เป็นจำนวนเชิงซ้อน

ประวัติ

[แก้]

ผู้คิดค้นวิธีนี้คือปาโอโล รุฟฟีนี เขาได้เข้าร่วมการแข่งขันที่บัณฑิตยสถานวิทยาศาสตร์แห่งชาติอิตาลีจัดขึ้น โดยปัญหาท้าทายคือหาวิธีในการหาคำตอบของพหุคูณทั่วไป ใน ค.ศ. 1804 คำตอบที่รุฟฟีนีที่ส่งไปได้อันดับที่หนึ่งจาก 5 ฉบับที่มีผู้ส่งไป และวิธีของเขาได้รับการตีพิมพ์ เขาได้ปรับแต่งงานของเขาและตีพิมพ์ใน ค.ศ. 1807 และอีกครั้งใน ค.ศ. 1813

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Cajori, Florian (1911). "Horner's method of approximation anticipated by Ruffini" (PDF). Bulletin of the American Mathematical Society. 17 (8): 389–444. doi:10.1090/s0002-9904-1911-02072-9.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]