การก่อการกำเริบในสาธารณรัฐมาซิโดเนีย พ.ศ. 2544

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก 2001 insurgency in the Republic of Macedonia)
การก่อการกำเริบในสาธารณรัฐมาซิโดเนีย พ.ศ. 2544
ส่วนหนึ่งของ สงครามยูโกสลาเวีย
วันที่22 มกราคม พ.ศ. 2544 – 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544
(9 เดือน 3 สัปดาห์)
สถานที่
Polog and Kumanovo regions of Macedonia near the border with FR Yugoslavia (Kosovo[a])
ผล

ข้อตกลงโอริส

  • การพักรบที่จัดตั้งโดยเนโท
  • พวกก่อการร้ายชาวแอลเบเนียตกลงปลดอาวุธ
  • รัฐบาลมาซิโดเนียตกลงที่จะให้สิทธิทางการเมืองแก่ชาวอัลบาเนียในประเทศมาซิโดเนียมากขึ้น
  • การฟื้นตัวตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2544
คู่สงคราม
กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติแอลแบเนีย (มาซิโดเนีย)

 มาซิโดเนียเหนือ
สนับสนุนโดย:

 ยูเครน[1] (main arms supply)
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
Ali Ahmeti
Fadil Nimani [2][3]
Tahir Sinani [2]
Rahim Beqiri [4]
Hamdi Ndrecaj
Gezim Ostreni
Samidin Xhezairi
มาซิโดเนียเหนือ Boris Trajkovski
มาซิโดเนียเหนือ Ljubčo Georgievski
มาซิโดเนียเหนือ Pande Petrovski (from 12 June 2001)
มาซิโดเนียเหนือ Jovan Andrevski (to 12 June 2001)
มาซิโดเนียเหนือ Ljube Boškoski (from 15 May 2001)
มาซิโดเนียเหนือ Dosta Dimovska (to 13 May 2001)
มาซิโดเนียเหนือ Vlado Bučkovski (from 13 May 2001)
มาซิโดเนียเหนือ Ljuben Paunovski (to 13 May 2001)
กำลัง
6,000 – 7,000 มาซิโดเนียเหนือ 15,000 – 20,000[5][6]
ความสูญเสีย
ผู้ก่อการร้ายถูกสังหาร 86 คน [7][8] ทหารตาย 75 คน
20-30 รถถังและอาวุธ ถูกผู้ก่อการร้ายทำลาย[9]

พลเรือน 90 คนถูกฆ่า 150 ถึง 250 คนเสียชีวิต และ 1,000 คนได้รับบาดเจ็บ[10]
70–250 คนถูกฆ่าขณะต่อสู้[11]
อื่นๆ:
มีผู้พลัดถิ่นกว่า 140,000 คน[10]

สหภาพยุโรป เจ้าหน้าที่สหภาพยุโรปสามคนเสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุทางรถยนต์ไม่ใช่การสู้รบ[12]
สหราชอาณาจักร ทหารสหราชอาณาจักรคนหนึ่งถูกสังหาร[13][14]

การก่อการกำเริบในสาธารณรัฐมาซิโดเนีย พ.ศ. 2544 (อังกฤษ: 2001 insurgency in the Republic of Macedonia) เป็นความขัดแย้งซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อกองทัพปลดปล่อยแห่งชาติแอลแบเนีย (NLA) เริ่มโจมตีกองกำลังรักษาความปลอดภัยของสาธารณรัฐมาซิโดเนียในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 และลงเอยด้วยข้อตกลงโอริส นอกจากนี้ยังมีกลุ่มที่อ้างว่าในท้ายที่สุดอยากจะเห็นแอลเบเนียแยกตัวออกจากประเทศ แม้ว่าจะมีการสนับสนุนสูง แต่สมาชิกกองทัพปลดปล่อยแห่งชาติแอลแบเนียปฏิเสธเรื่องนี้ [15]

ความขัดแย้งเกิดขึ้นตลอดหลายปีที่ผ่านมาแม้ว่าจำนวนผู้เสียชีวิตจะมีน้อยก็ตาม สงครามยูโกสลาเวียเป็นผลพวงจนทำให้เกิดการจลาจลในสาธารณรัฐมาซิโดเนีย พ.ศ. 2544

อ้างอิง[แก้]

  1. Taras Kuzio (31 October 2001). "UKRAINE FORGES MILITARY ALLIANCE WITH MACEDONIA". The Jamestown. สืบค้นเมื่อ 5 May 2015.
  2. 2.0 2.1 "Komandantët e UÇK-së, disa të vrarë, disa në arrati, shumica në poste"[ลิงก์เสีย]. Lajm Maqedoni. 13 August 2010
  3. "Убиен Фадил Лимани, командант на терористите за Куманово" เก็บถาวร 2013-10-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Вест. 28 May 2001
  4. "UÇK. Message and hope. Part II" เก็บถาวร 2018-09-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน by Petrit Menaj. Open Society Institute, Macedonia. Skopje. 2008
  5. Jonathan Steele (26 March 2001). "Inexperienced force limits Skopje's options". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 10 March 2013.
  6. [1] Svedostva Pande Petrovski str.97
  7. "Dëshmorët e Ushtrisë Çlirimtare Kombëtare" เก็บถาวร 2017-11-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, shkruar nga Xhemal Selimi. Tanusha 2001. 15 February 2011
  8. "DËSHMORËT – Emri dhe mbiemri".SHOQATA E VETERANËVE TË LUFTËS SË USHTRISË ÇLIRIMTARE KOMBËTARE. Tetovë. Maj 2002
  9. Bender, Kristof (2013). "How the U.S. and EU Stopped a War and Nobody Noticed: The Containment of the Macedonian Conflict and EU Soft Power". ใน Berdal, Mats; Zaum, Dominik (บ.ก.). Political Economy of Statebuilding: Power After Peace. London: Routledge. p. 341. ISBN 978-0-203-10130-8.
  10. 10.0 10.1 Phillips, John (2004). Macedonia: Warlords And Rebels In The Balkans. Yale University Press. p. 161. ISBN 0-300-10268-2.
  11. Uppsala Conflict Data Program, http://www.ucdp.uu.se/gpdatabase/gpcountry.php?id=98&regionSelect=9-Eastern_Europe# เก็บถาวร 2016-03-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Macedonia, FYR: government (entire conflict), viewed 3 May 2013
  12. "EU monitors killed in Macedonia". The Guardian. 20 July 2001. สืบค้นเมื่อ 19 October 2013.
  13. "British soldier killed in Macedonia". BBC News. 27 August 2001. สืบค้นเมื่อ 5 May 2010.
  14. "Who are the rebels?". BBC News. 20 March 2001.
  15. "Who are the rebels?". BBC News. 20 March 2001.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]