ข้ามไปเนื้อหา

โลเพราไมด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โลเพราไมด์
ข้อมูลทางคลินิก
การอ่านออกเสียง/lˈpɛrəmd/
ชื่อทางการค้าImodium, Dicotil, others[1]
ชื่ออื่นR-18553
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa682280
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • AU: B3
  • US: C (ยังไม่ชี้ขาด)
ช่องทางการรับยารับประทาน
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผล0.3%
การจับกับโปรตีน97%
การเปลี่ยนแปลงยาตับ
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ9–14 ชั่วโมง[2]
การขับออกFaeces (30–40%), urine (1%)
ตัวบ่งชี้
  • 4-[4-(4-Chlorophenyl)-4-hydroxypiperidin-1-yl]-N,N-dimethyl-2,2-diphenylbutanamide
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
IUPHAR/BPS
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.053.088
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC29H33ClN2O2
มวลต่อโมล477.037 g/mol (513.506 with HCl) g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • ClC1=CC=C(C2(CCN(CC2)CCC(C3=CC=CC=C3)(C(N(C)C)=O)C4=CC=CC=C4)O)C=C1
  • InChI=1S/C29H33ClN2O2/c1-31(2)27(33)29(24-9-5-3-6-10-24,25-11-7-4-8-12-25)19-22-32-20-17-28(34,18-21-32)23-13-15-26(30)16-14-23/h3-16,34H,17-22H2,1-2H3 checkY
  • Key:RDOIQAHITMMDAJ-UHFFFAOYSA-N checkY
  7checkY (what is this?)  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

โลเพราไมด์ (Loperamide) หรือชื่อทางการค้าคือ อีโมเดียม (Imodium) เป็นยาลดอาการท้องร่วง[2] มักใช้ในการรักษากระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ, ลำไส้อักเสบเรื้อรัง และกลุ่มอาการลำไส้สั้น เนื่องจากยานี้ทำงานโดยการชะลอการบีบตัวของทางเดินอาหาร[2] จึงไม่เหมาะสมสำหรับผู้ที่ถ่ายเป็นเลือด สามารถรับยานี้ได้โดยวิธีรับประทาน[2]

ผลข้างเคียงทั่วไปได้แก่ เจ็บตรงช่องท้อง, ท้องผูก, ง่วงนอน, อาเจียน และปากแห้ง ผลข้างเคียงร้ายแรงได้แก่ลำไส้ใหญ่พองตัวและเน่า[2] สตรีให้นมบุตรสามารถใช้ยาชนิดนี้ได้[3] อย่างไรก็คาม ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่ายานี้เหมาะสมต่อสตรีมีครรภ์หรือไม่ แต่ที่ผ่านมายังไม่เคยมีประวัติในเชิงลบ[4]

โลเพราไมด์ถูกค้าพบในปี ค.ศ. 1969 และเริ่มใช้เป็นยาในปี ค.ศ. 1976[5] ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นหนึ่งในยาหลักขององค์การอนามัยโลก[6] ปัจจุบันมีวางจำหน่ายในฐานะยาสามัญที่มีราคาไม่แพง[2][7]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Drugs.com International brands for loperamide Page accessed Sept 4, 2015
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 "Loperamide Hydrochloride". The American Society of Health-System Pharmacists. สืบค้นเมื่อ Aug 25, 2015.
  3. "Loperamide use while Breastfeeding". สืบค้นเมื่อ 26 August 2015.
  4. "Prescribing medicines in pregnancy database". Australian Government. 3 March 2014. สืบค้นเมื่อ 22 April 2014.
  5. Patrick, Graham L. (2013). An introduction to medicinal chemistry (Fifth edition. ed.). Oxford: Oxford University Press. p. 644. ISBN 9780199697397.
  6. "WHO Model List of Essential Medicines (19th List)" (PDF). World Health Organization. April 2015. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.
  7. Hamilton, Richard J. (2013). Tarascon pocket pharmacopoeia (14 ed.). [Sudbury, Mass.]: Jones & Bartlett Learning. p. 217. ISBN 9781449673611.