โบโกฮะรอม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โบโกฮะรอม
جماعة أهل السنة للدعوة والجهاد
มีส่วนร่วมในการก่อความไม่สงบของกลุ่มโบโกฮะรอม
AQMI Flag asymmetric.svg
ปฏิบัติการ2545–ปัจจุบัน
แนวคิดวะฮาบีย์
ซะละฟีย์
รากฐานนิยมอิสลาม
ผู้นำอะบู มูซาบ อัลบาร์นาวี (ผู้นำ, แต่งตั้งโดย ISIL)
อะบูบะการ์ เชเกา (ผู้นำ, อ้างสิทธิ์)
โมฮัมเหม็ด ยูซูฟ (ผู้ก่อตั้ง) 
พื้นที่ปฏิบัติการไนจีเรีย, แคเมอรูน, ไนเจอร์, ชาด
กำลังพลอย่างน้อย 15,000 คน (แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล, มกราคม 2558)[1]
20,000 คน (ชาด, มีนาคม 2558)[2]
4,000–6,000 คน (สหรัฐอเมริกา, กุมภาพันธ์ 2558)
ส่วนหนึ่งของFlag of the Islamic State of Iraq and the Levant2.svg รัฐอิสลามอิรักและเลแวนต์
ปรปักษ์

โบโกฮะรอม (อังกฤษ: Boko Haram, "การศึกษาตะวันตกถูกห้าม") เป็นขบวนการอิสลามก่อการร้ายมีฐานในทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไนจีเรีย นอกจากนี้ยังปฏิบัติการในประเทศชาด ไนเจอร์และทางเหนือของแคเมอรูน[3] มีสมาชิกประเมินอยู่ระหว่าง 4,000-20,000 คน[2] ในปี 2558 โบโกฮะรอมประกาศสวามิภักดิ์ต่อกลุ่มรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ (ISIL)[8][9] หลังจากนั้นกลุ่มกลายเป็น "จังหวัด" หนึ่งของรัฐอิสลาม เรียกว่า Wilayat Gharb Afriqiya (จังหวัดแอฟริกาตะวันตก)[10][11] ISIL แต่งตั้งอะบู มูซาบ อัลบาร์นาวีขึ้นเป็นผู้นำคนใหม่ ทำให้กลุ่มเกิดการแตกแยกออกเป็นสองฝ่ายคือฝ่ายที่สนับสนุนบาร์นาวีกับฝ่ายที่สนับสนุนอะบูบะการ์ เชเกา ผู้นำคนก่อน[12]

โบโกฮะรอมฆ่าพลเรือนกว่า 5,000 คนระหว่างเดือนกรกฎาคม 2552 ถึงเดือนมิถุนายน 2557 รวมอย่างน้อย 2,000 คนในช่วงครึ่งแรกของปี 2557 ในการโจมตีซึ่งส่วนใหญ่เกิดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เหนือ-กลางและกลางของไนจีเรีย[13][14][15] การฉ้อราษฎร์บังหลวงในราชการความมั่นคงและการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ราชการก่อบั่นทอนความพยายามรับมือกับความไม่สงบดังกล่าว[16] นับแต่ปี 2552 โบโกฮะรอมลักพาตัวชาย หญิงและเด็กกว่า 500 คน[17][18] รวมการลักพาตัวเด็กนักเรียนหญิง 278 คนจากชิบอค (Chibok) ในเดือนเมษายน 2557[19] ประชาชน 650,000 คนหนีจากพื้นที่ขัดแย้งจนถึงเดือนสิงหาคม 2557 เพิ่มขึ้น 200,000 คนนับจากเดือนพฤษภาคมปีนั้น เมื่อสิ้นปี มีประชาชนหนีแล้ว 1.5 ล้านคน[20][21]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Boko Haram at a glance". Amnesty International. สืบค้นเมื่อ 25 January 2015.
  2. 2.0 2.1 "Boko Haram HQ Gwoza in Nigeria 'retaken'".
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Bureau of Counterterrorism. "Country Reports on Terrorism 2013". U.S. Department of State. สืบค้นเมื่อ 7 August 2014.
  4. 4.0 4.1 4.2 "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-01-18. สืบค้นเมื่อ 2015-03-16.
  5. 5.0 5.1 5.2 "Jonathan tasks Defence, Foreign Ministers of Nigeria, Chad, Cameroon, Niger, Benin on Boko Haram's defeat". sunnewsonline.com.
  6. 6.0 6.1 6.2 Martin Williams. "African leaders pledge 'total war' on Boko Haram after Nigeria kidnap". The Guardian.
  7. "Chadian Forces Deploy Against Boko Haram". VOA. 16 January 2015. สืบค้นเมื่อ 16 January 2015.
  8. "IS welcomes Boko Haram allegiance: tape". AFP. 12 March 2015. สืบค้นเมื่อ 12 March 2015.
  9. "Nigeria's Boko Haram pledges allegiance to Islamic State". BBC news. BBC. 7 March 2015. สืบค้นเมื่อ 7 March 2015.
  10. "Boko Haram Changes Name To 'West African Province' Of The Islamic State". Daily Times of Nigeria. 23 April 2015. สืบค้นเมื่อ 21 July 2015.
  11. "ISIS Global Intelligence Summary March 1 – May 7, 2015" (PDF). Institute for the Study of War. 10 May 2015. สืบค้นเมื่อ 12 May 2015.
  12. "Behind Boko Haram's Split: A Leader Too Radical for Islamic State". Wall Street Journal. 15 September 2016. สืบค้นเมื่อ 16 September 2016.
  13. 19 July 2014 (2014-07-19). "Boko Haram insurgents kill 100 people as they take control of Nigerian town". Guardian. สืบค้นเมื่อ 2014-07-20.
  14. Africa Program at the Council on Foreign Relations (2014). "Nigeria Security Tracker". www.cfr.org. Council of Foreign Relations. สืบค้นเมื่อ July 21, 2014.
  15. "Boko Haram". Encyclopaedia Britannica. สืบค้นเมื่อ September 2014. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  16. Glenn Kessler (May 19, 2014). "Boko Haram: Inside the State Department debate over the 'terrorist' label". Washington Post. สืบค้นเมื่อ 3 August 2014.
  17. 3 January 2015 (2015-01-03). "Boko Haram unrest: Gunmen kidnap Nigeria villagers". BBC. สืบค้นเมื่อ 2015-01-05.
  18. 15 August 2014 (2014-07-15). "Boko Haram Kidnap Dozens Of Boys In Northeast Nigeria: Witnesses". Huffington Post. สืบค้นเมื่อ 2015-01-05.
  19. "Nigeria: Victims of Abductions Tell Their Stories". Human Rights Watch. 27 October 2014. สืบค้นเมื่อ November 2014. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  20. "Islamists force 650 000 Nigerians from homes". News 24. 2014-08-05. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-13. สืบค้นเมื่อ 6 August 2014.
  21. "Boko Haram Overruns Villages and Army Base in Northeast Nigeria". Wall Street Journal. 5 January 2015. สืบค้นเมื่อ 5 January 2015.