โคฐาภยะ ราชปักษะ
หน้าตา
โคฐาภยะ ราชปักษะ | |
---|---|
ගෝඨාභය රාජපක්ෂ கோட்டாபய ராஜபக்ஸ | |
ราชปักษะเมื่อ ค.ศ. 2019 | |
ประธานาธิบดีศรีลังกา คนที่ 8 | |
ดำรงตำแหน่ง 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 2019 – 14 กรกฎาคม ค.ศ. 2022 | |
นายกรัฐมนตรี | รนิล วิกรมสิงหะ มหินทะ ราชปักษะ |
ก่อนหน้า | ไมตรีปาละ สิริเสนะ |
ถัดไป | รนิล วิกรมสิงหะ |
รัฐมนตรีกลาโหม | |
ดำรงตำแหน่ง 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 2019 – 14 กรกฎาคม ค.ศ. 2022 | |
ประธานาธิบดี | ตนเอง |
นายกรัฐมนตรี | มหินทะ ราชปักษะ รนิล วิกรมสิงหะ |
ก่อนหน้า | ไมตรีปาละ สิริเสนะ |
ถัดไป | รนิล วิกรมสิงหะ (แทน) |
รัฐมนตรีเทคโนโลยี | |
ดำรงตำแหน่ง 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020 – 14 กรกฎาคม ค.ศ. 2022 | |
ประธานาธิบดี | ตนเอง |
นายกรัฐมนตรี | มหินทะ ราชปักษะ รนิล วิกรมสิงหะ |
ก่อนหน้า | สุสิล เปรมชยันตะ |
ถัดไป | รนิล วิกรมสิงหะ (แทน) |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | ปาลตูวะ เขตซีลอน | 20 มิถุนายน ค.ศ. 1949
สัญชาติ | ศรีลังกา (ค.ศ. 1949–2003 และ ค.ศ. 2005–ปัจจุบัน)[1][2][3] สหรัฐ (ค.ศ. 2003–2019)[4][5] |
พรรคการเมือง | ศรีลังกาโปทุชนะเปรมุณะ |
คู่สมรส | ไอโอมะ ราชปักษะ |
บุพการี | ดอน อัลวิน ราชปักษะ (พ่อ) ทันทินะ สมรสิงหะ (สกุลเดิม ทิสสนายก; แม่) |
ความสัมพันธ์ | จามัล (พี่ชาย) มหินทะ (พี่ชาย) พสิล (น้องชาย) |
การศึกษา | วิทยาลัยกองทัพศรีลังกา มหาวิทยาลัยโคลัมโบ |
เว็บไซต์ | gota.lk |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
รับใช้ | ศรีลังกา |
สังกัด | กองทัพบกศรีลังกา |
ประจำการ | ค.ศ. 1971–1991 |
ยศ | พันโท |
หน่วย | คชพา |
บังคับบัญชา | คชพาที่ 1 สถาบันกลาโหมนายพล เซอร์ จอห์น โกตวลา |
ผ่านศึก | สงครามกลางเมืองศรีลังกา การก่อการกำเริบเจวีพีปี ค.ศ. 1987-89 |
รางวัล | รานาวิกรมปัททักกมะ รานาสุรปัททักกมะ |
พันโท นันทเสนะ โคฐาภยะ ราชปักษะ (สิงหล: නන්දසේන ගෝඨාභය රාජපක්ෂ; ทมิฬ: நந்தசேன கோட்டாபய ராஜபக்ஸ; อักษรโรมัน: Nandasena Gotabaya Rajapaksa; เกิด 20 มิถุนายน ค.ศ. 1949) เป็นอดีตนายทหารประจำกองทัพบกศรีลังกาและนักการเมืองชาวศรีลังกา ประธานาธิบดีศรีลังกาคนที่แปด ดำรงตำแหน่งเมื่อ ค.ศ. 2019 กระทั่งลาออกในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 2022 ราชปักษะลี้ภัยไปยังสิงคโปร์โดยต่อเครื่องที่มัลดีฟส์ในวันเดียวกัน[6] ก่อนหน้า เขาเคยดำรงตำแหน่งเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาเมืองระหว่าง ค.ศ. 2005–2015 ภายใต้ประธานาธิบดีมหินทะ ราชปักษะ พี่ชายของเขา ในสมัยปลายสงครามกลางเมืองศรีลังกา
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "CT finds Gota's true U.S. renunciation certificate". Ceylon Today. 1 August 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 October 2019. สืบค้นเมื่อ 1 August 2019.
- ↑ "Police to probe Gota's citizenship, passports". Daily FT. Colombo, Sri Lanka. 10 August 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 November 2019. สืบค้นเมื่อ 27 October 2019.
- ↑ "Gota's Lanka citizenship in doubt, candidacy under cloud". The Island. Colombo, Sri Lanka. 22 September 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 June 2019. สืบค้นเมื่อ 27 October 2019.
- ↑ Singh, Anurangi (29 September 2019). "Gota's citizenship challenged in Court of Appeal". Sunday Observer. Colombo, Sri Lanka. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 February 2020. สืบค้นเมื่อ 27 October 2019.
- ↑ "People want non-traditional politicians – Gotabhaya Rajapaksa". dailymirror.lk (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 February 2020. สืบค้นเมื่อ 14 January 2019.
- ↑ "Sri Lanka: President Gotabaya has officially stepped down". Sri Lanka News - Newsfirst. 15 July 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 July 2022. สืบค้นเมื่อ 15 July 2022.