แปซิฟิกเกมส์ 2015

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แปซิฟิกเกมส์ ครั้งที่ 15
เมืองเจ้าภาพพอร์ตมอร์สบี
ประเทศ ปาปัวนิวกินี
ประเทศเข้าร่วม24
นักกีฬาเข้าร่วม3,796[ต้องการอ้างอิง]
ชนิด299 รายการใน 28 กีฬา
พิธีเปิด4 กรกฎาคม ค.ศ. 2015
พิธีปิด18 กรกฎาคม ค.ศ. 2015
ประธานพิธีเปิดเจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ค
นักกีฬาปฏิญาณเดสลิน ซินิว
ผู้ตัดสินปฏิญาณซูซาน บาเบา
ผู้จุดคบเพลิงดีก้า ทูอา
สนามกีฬาหลักเซอร์ จอห์น กีส สเตเดียม

แปซิฟิกเกมส์ 2015 (อังกฤษ: 2015 Pacific Games) หรือที่เรียกว่า พอร์ตมอร์สบี 2015 (อังกฤษ: Port Moresby 2015) หรือ POM 2015 เป็นการจัดการแข่งขันแปซิฟิกเกมส์ ครั้งที่ 15 จัดขึ้นที่พอร์ตมอร์สบี, ประเทศปาปัวนิวกินี ตั้งแต่วันที่ 4 ถึง 18 กรกฎาคม ค.ศ. 2015 นับเป็นการจัดการแข่งขันครั้งที่ 3 ที่พอร์ตมอร์สบี[1]

นักกีฬามากกว่า 3,700 คนจาก 22 ประเทศสมาคมแปซิฟิกเกมส์ รวมถึงผู้เข้าร่วมเป็นครั้งแรกของประเทศออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์[2][3] ด้วยชุดเหรียญรางวัลเกือบ 300 ชุด การแข่งขันดังกล่าวมีกีฬา 28 ชนิด โดย 19 ชนิดอยู่ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 เฉพาะกีฬาฟุตบอลของผู้ชายเท่านั้นที่เป็นการแข่งขันรอบคัดเลือกโดยตรงสำหรับริโอ 2016 การแข่งขันกีฬาครั้งนี้จัดขึ้นในสนาม 14 แห่งในเมืองเจ้าภาพ

ปาปัวนิวกินี ประเทศเจ้าภาพ เป็นเจ้าเหรียญทองเป็นครั้งที่สอง โดยคว้าเหรียญทองมากที่สุด (88) และเหรียญรางวัลโดยรวมมากที่สุด (217)[4] นิวแคลิโดเนียจบการแข่งขันที่อันดับสอง นับเป็นครั้งที่สามที่ดินแดนฝรั่งเศสล้มเหลวในการได้อันดับแรก ตาฮิติได้อันดับสาม ตูวาลูได้รับเหรียญทองเป็นครั้งแรกในการแข่งขัน และทีมที่เปิดตัวครั้งแรกจากออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ได้รับเหรียญรางวัลในกีฬาแปซิฟิกเกมส์เป็นครั้งแรก รวมทั้งเหรียญทอง[5][6][7]

ตารางสรุปเหรียญรางวัล[แก้]

  ประเทศเจ้าภาพ

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 ปาปัวนิวกีนี*886960217
2 นิวแคลิโดเนีย605056166
3 ตาฮีตี393441114
4 ฟีจี334537115
5 ซามัว17231151
6 ออสเตรเลีย17191147
7 นาอูรู710522
8 หมู่เกาะโซโลมอน761528
9 ตองงา71917
10 หมู่เกาะคุก671528
11 กวม33713
12 คิริบาส3159
13 อเมริกันซามัว3148
14 ไมโครนีเชีย3104
15 วานูวาตู281222
16 เกาะนอร์ฟอล์ก2327
17 นิวซีแลนด์191020
18 วอลิสและฟูตูนา1157
19 ตูวาลู1034
20 นีวเว0112
ปาเลา0112
22 หมู่เกาะมาร์แชลล์0055
23 โตเกเลา0000
หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา0000
รวม (24 ประเทศ)300293315908

อ้างอิง[แก้]

  1. "Pacific Games dates set", Post-Courier, 18 April 2012
  2. "Pacific Games 2015". www.businessadvantagepng.com/. Business Advantage PNG. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-08-05. สืบค้นเมื่อ 1 July 2015.
  3. "Australia and New Zealand to participate in Pacific Games". www.abc.net.au. ABC Australia. สืบค้นเมื่อ 3 July 2014.
  4. "Papua New Guinea top final medal standings". www.insidethegames.biz. inside the games. สืบค้นเมื่อ 18 July 2015.
  5. "Tuvalu wins historic first ever Pacific Games gold". www.radionz.co.nz. Radio New Zealand. สืบค้นเมื่อ 11 July 2015.
  6. "Yamasaki claims Australia's first ever Pacific Games medal". www.insidethegames.biz. inside the games. สืบค้นเมื่อ 5 July 2015.
  7. "New Zealand wins first Pacific Games medal at debut". www.olympic.org.nz. New Zealand Olympic Committee. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 February 2016. สืบค้นเมื่อ 5 July 2015.