เอสเอส นอร์มังดี
![]() ภาพสีของ SS Normandie ในทะเล
| |
ประวัติ | |
---|---|
![]() | |
ชื่อ |
|
ตั้งชื่อตาม | นอร์ม็องดี |
เจ้าของ | บริษัท เจเนอรัล ทรานส์แอตแลนติก[1] |
ท่าเรือจดทะเบียน | ท่าเรือเลออาฟวร์[1] |
อู่เรือ | อู่ต่อเรือเพนโฮต, แซ็ง-นาแซร์, ฝรั่งเศส[1] |
ปล่อยเรือ | 26 มกราคม พ.ศ. 2474 |
เดินเรือแรก | 29 ตุลาคม พ.ศ. 2475 |
Christened | 29 ตุลาคม พ.ศ. 2475 |
สร้างเสร็จ | พ.ศ. 2476 |
Maiden voyage | 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2478[2] |
บริการ | พ.ศ. 2478–2485 |
หยุดให้บริการ | พ.ศ. 2485 |
รหัสระบุ |
|
ชื่อเล่น | เรือที่ยิ่งใหญ่ |
ความเป็นไป | ถูกไฟไหม้และพลิกคว่ำ พ.ศ. 2485, แยกชิ้นส่วนตุลาคม พ.ศ. 2489 |
ลักษณะเฉพาะ | |
ประเภท: | เรือเดินสมุทร |
ขนาด (ตัน): |
|
ขนาด (ระวางขับน้ำ): | 68,350 ตัน (บรรทุก) |
ความยาว: | 313.6 เมตร (1,029 ฟุต) |
ความกว้าง: | 35.9 เมตร (117 ฟุต 10 นิ้ว)[1] |
ความสูง: | 56.1 เมตร (184 ฟุต) |
กินน้ำลึก: | 11.2 เมตร (36 ฟุต 7 นิ้ว) (บรรทุก) |
ความลึก: | 28 เมตร (92 ฟุต) |
ดาดฟ้า: | 12 ชั้น |
ระบบพลังงาน: | กังหัน turbo-electric จำนวน 4 ชุด ให้กำลังรวม 160,000 แรงม้า (สูงสุด 200,000 แรงม้า)[3] |
ระบบขับเคลื่อน: | ใบจักรจำนวน 3 ใบจักร จำนวน 4 จักร (เพิ่มเป็น 4 ใบจักรในเวลาต่อมา) |
ความเร็ว: |
|
ความจุ: | ผู้โดยสาร 1,972 คน: ชั้นหนึ่ง 848 คน, ชั้นนักท่องเที่ยว 670 คน, ชั้นสาม 454 คน |
ลูกเรือ: | 1,345 คน |
เอสเอส นอร์มังดี (อังกฤษ: SS Normandie) เป็นเรือเดินสมุทรสัญชาติฝรั่งเศสที่สร้างขึ้นใน แซงต์-นาแซร์ ประเทศฝรั่งเศส สำหรับสายการเดินเรือเจเนอรัล ทรานส์แอตแลนติก (CGT) เข้าประจำการในปี พ.ศ. 2478 ในฐานะเรือโดยสารที่ใหญ่ที่สุดและเร็วที่สุดที่แล่นข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก โดยใช้เวลาเพียง 4.14 วัน และยังคงเป็นเรือโดยสารที่ขับเคลื่อนด้วยพลังไอน้ำเทอร์โบไฟฟ้าที่ทรงกำลังมากที่สุดเท่าที่เคยสร้างมา[4]
การออกแบบที่แปลกใหม่และการตกแต่งภายในที่หรูหรา ทำให้หลายคนคิดว่าเรือลำนี้คือเรือยิ่งใหญ่ที่สุดในบรรดาเรือเดินสมุทร[4] อย่างไรก็ตาม เรือลำนี้ไม่ประสบความสำเร็จในเชิงพาณิชย์และได้พึ่งพาเงินอุดหนุนจากรัฐบาลบางส่วนในการดำเนินงาน[5] ในระหว่างการปะจำการในฐานะเรือธงของ CGT ได้ทำการแล่นข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกไปทั้งสิ้น 139 ครั้งจากท่าเรือเลออาฟวร์ บ้านเกิด ไปยังนครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา
เอสเอส นอร์มังดี ได้รับรางวัลบลูริบบันด์ สำหรับการข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกที่เร็วที่สุด ในระหว่างการประจำการ มีเรือที่เป็นคู่แข่งคือ เรืออาร์เอ็มเอส ควีนแมรี (RMS Queen Mary)
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เรือลำนี่ถูกยึดโดยทางการสหรัฐฯ ที่นิวยอร์ก และเปลี่ยนชื่อเป็น ยูเอสเอส ลาฟาแยตต์ (USS Lafayette) ในปีพ.ศ. 2485 ขณะที่ถูกดัดแปลงเป็นเรือลำเลียงพล เรือได้ถูกไฟไหม้และพลิกคว่ำลงที่ฝั่งกราบซ้าย และครึ่งหนึ่งของตัวเรือจมอยู่ในแม่น้ำฮัดสัน ที่ท่าเรือหมายเลข 88 (ที่ตั้งของท่าเรือขนส่งผู้โดยสารนิวยอร์กในปัจจุบัน) แม้ว่าจะได้รับการซ่อมแซมด้วยค่าใช้จ่ายจำนวนมาก แต่ก็ถือว่ามีค่าใช้จ่ายสูงเกินไป ในที่สุดเรือลำนี้ก็ถูกแยกชิ้นส่วนในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2489[6]
ต้นกำเนิด[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การสร้างและการเปิดตัว[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ภายใน[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
== ประจำการ =
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เรือคู่ที่วางแผนไว้ – เอสเอส บริเตน[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ความนิยม[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สงครามโลกครั้งที่สอง[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
มรดก[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
รูปลักษณ์ตัวเรือ[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]
- เอสเอส ปารีส (1916)
- เอสเอส อิล เดอ ฟร็องส์
- เอสเอส ยูโรปา
- เอสเอส ฟร็องส์ (1961)
- ปิแอร์-มารี ปัวซอง
- อาร์เอ็มเอส ควีนเอลิซาเบธ
- อาร์เอ็มเอ็มวี โอเชียนิก
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 Lloyd's Register, Steamers & Motorships (PDF). London: Lloyd's Register. 1935. สืบค้นเมื่อ 20 May 2013.
- ↑ Bathe 1972, p. 236.
- ↑ "Latest Triumphs in Electric Ships". Popular Science. November 1933.
- ↑ 4.0 4.1 Ardman 1985.
- ↑ Floating Palaces. (1996) A&E. TV Documentary.
- ↑ Maxtone-Graham 1972.