เลขคณิตมอดุลาร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เลขคณิตมอดุลาร์ (Modular arithmetic) เป็นระบบเลขคณิตที่มีรากฐานมาจากระบบจำนวนเต็มทั่วไป แต่จำนวนในระบบนี้จะมีการหมุนกลับในลักษณะเดียวกันกับเข็มนาฬิกาเมื่อมีค่าถึงค่าบางค่าที่กำหนดไว้ ซึ่งค่านี้จะเรียกว่า มอดุลัส กล่าวคือ, ตัวเลขที่มีค่าเกินค่าของมอดุลัส จะถูกปรับค่าให้เป็นเศษของจำนวนนั้นเมื่อหารด้วยมอดุลัส ยกตัวอย่างเช่น ภายใต้มอดุลัสที่เป็น เลข จะถูกปรับให้เหลือ หรือ ผลบวกของ กับ ก็คือ

การสมภาคกันของจำนวน[แก้]

เราจะกล่าวว่าจำนวนเต็ม และ สมภาคกัน ภายใต้มอดุโล ได้เมื่อผลต่างของสองจำนวนนั้นสามารถหารลงตัวได้ด้วย หรืออาจจะกล่าวได้อีกอย่างคือ จำนวนเต็ม กับ เมื่อหารด้วย จะเหลือเศษเท่ากัน การสมภาคกันของ และ สามารถเขียนได้ในรูป

ตัวอย่างเช่น

ความสัมพันธ์ของการสมภาคกันเป็นความสัมพันธ์สมมูล (equivalence relation) และชั้นสมมูล (equivalence class) ของจำนวนเต็ม a สามารถเขียนได้ในรูป [a]n ซึ่งความสัมพันธ์สมมูลตัวนี้มีคุณสมบัติเพิ่มเติมอีกหลายอย่าง ยกตัวอย่างเช่น: ถ้า

และ

แล้ว

และ

ประวัติ[แก้]

คาร์ล ฟรีดริช เกาส์เป็นผู้นำเสนอเลขคณิตมอดุลาร์ในหนังสือ Disquisitiones Arithmeticae ในปีค.ศ. 1801 (พ.ศ. 2344)

คุณสมบัติ[แก้]

ถ้า ab (mod n) แล้ว และ bc (mod n), ดังนั้น ac (mod n)

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]