เรือประจัญบานมิกาซะ
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก เรือประจัญบานมิคาสะ)
มิกาซะ ที่ โยโกซูกะ, ญี่ปุ่น, ค.ศ. 2021
| |
ภาพรวมชั้น | |
---|---|
ผู้ใช้งาน: | กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น |
ก่อนหน้าโดย: | Asahi |
ตามหลังโดย: | Katori class |
สร้างเมื่อ: | 1899–1900 |
ในประจำการ: | 1902–1923 |
เสร็จแล้ว: | 1 |
เก็บรักษา: | 1 |
ประวัติ | |
จักรวรรดิญี่ปุ่น | |
ชื่อ | มิกาซะ |
ตั้งชื่อตาม | ภูเขามิกาซะ |
Ordered | 26 กันยายน ค.ศ. 1898 |
อู่เรือ | Vickers, Sons & Maxim, Barrow-in-Furness |
ปล่อยเรือ | 24 มกราคม ค.ศ. 1899 |
เดินเรือแรก | 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1900 |
เข้าประจำการ | 1 มีนาคม ค.ศ. 1902 |
Stricken | 20 กันยายน ค.ศ. 1923 |
สถานะ | ถูกเปลี่ยนเป็น อนุสรณ์ประวัติศาสตร์เรือ |
ลักษณะเฉพาะ (as built) | |
ประเภท: | เรือประจัญบานก่อนเดรดนอต |
ขนาด (ระวางขับน้ำ): | 15,140 long ton (15,380 ตัน) (normal) |
ความยาว: | 432 ft (131.7 m) |
ความกว้าง: | 76 ft (23.2 m) |
กินน้ำลึก: | 27 ft (8.2 m) |
ระบบพลังงาน: |
|
ระบบขับเคลื่อน: | 2 shafts, 2 vertical triple-expansion steam engines |
ความเร็ว: | 18 นอต (33 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 21 ไมล์ต่อชั่วโมง) |
พิสัยเชื้อเพลิง: | 9,000 nmi (17,000 km; 10,000 mi) at 10 นอต (19 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 12 ไมล์ต่อชั่วโมง) |
อัตราเต็มที่: | 836 |
ยุทโธปกรณ์: |
|
สิ่งป้องกัน: |
|
มิกาซะ (ญี่ปุ่น: 三笠; โรมาจิ: Mikasa) เป็นเรือประจัญบานของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ตั้งตามชื่อภูเขามิกาซะ ในเมืองนาระ ประเทศญี่ปุ่น เรือลำนี้ทำหน้าที่เป็นเรือธงของพลเรือโทโทโง เฮฮาจิโรตลอดสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น ระหว่างปี ค.ศ. 1904-1905 โดยรวมถึงยุทธนาวีที่พอร์ตอาเธอร์, ยุทธนาวีที่ทะเลเหลือง และ ยุทธนาวีที่ช่องแคบสึชิมะ[1]
รูปภาพ
[แก้]-
ภาพวาด พลเรือเอกโทโงแปรธง Z บนสะพานเดินเรือของเรือธง มิกาซะ ก่อนการปะทะ
-
มิกาซะ ในปี ค.ศ. 1905
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "The one remaining British-built battleship left. • the Military Times". 25 November 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-26. สืบค้นเมื่อ 2023-01-10.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ เรือประจัญบานมิกาซะ
หมวดหมู่:
- เรือประจัญบานของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น
- เรือรบญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
- เรือประจัญบานในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
- เรือประจัญบานในสงครามรัสเซีย–ญี่ปุ่น
- เรือประจัญบานในสมัยวิกตอเรีย
- เรือประจัญบาน
- เรือที่ต่อในอังกฤษ
- เรือที่ต่อในสหราชอาณาจักร
- เรือในสังกัดกองทัพเรือญี่ปุ่นในสงครามรัสเซีย–ญี่ปุ่น
- เรือรบในสงครามรัสเซีย–ญี่ปุ่น
- เรือในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
- เรือที่ถูกจมโดยการระเบิดที่คลังกระสุนที่ไม่ใช่การรบ
- พิพิธภัณฑ์เรือในประเทศญี่ปุ่น
- ยุทธนาวีที่ช่องแคบสึชิมะ
- อุบัติเหตุทางทะเลใน พ.ศ. 2448
- โทโง เฮฮาจิโร