อาณานิคมเคนยา
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก เคนยาของอังกฤษ)
อาณานิคมและรัฐในอารักขาเคนยา | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1920–1963 | |||||||||||
แผนที่บริติชอีสต์แอฟริกาใน ค.ศ. 1909 | |||||||||||
สถานะ | อาณานิคมอังกฤษ | ||||||||||
เมืองหลวง | ไนโรบี | ||||||||||
ภาษาทั่วไป | อังกฤษ (ทางการ) สวาฮีลี, คิคูยู, แตมบา, ลูยา, Luo, Gusii, เมรู, Nandi–Markweta | ||||||||||
การปกครอง | อาณานิคม | ||||||||||
กษัตริย์ | |||||||||||
• 1920–1936 | จอร์จที่ 5 | ||||||||||
• 1936 | เอ็ดเวิร์ดที่ 8 | ||||||||||
• 1936–1952 | จอร์จที่ 6 | ||||||||||
• 1952–1963 | เอลิซาเบธที่ 2 | ||||||||||
ข้าหลวงต่างพระองค์หรือผู้ว่าราชการ | |||||||||||
• 1920–1922 (คนแรก) | พลตรี เซอร์ เอ็ดเวิร์ด นอร์ธีย์ | ||||||||||
• 1937–1939 | พลอากาศเอก เซอร์ รอเบิร์ต บรูก-โพแฟม | ||||||||||
• 1952–1959 | เอเอวร์ลิน แบริง | ||||||||||
• 1963 (สุดท้าย) | มัลคอล์ม แมคดอนัลด์ | ||||||||||
สภานิติบัญญัติ | สภานิติบัญญัติ | ||||||||||
ประวัติศาสตร์ | |||||||||||
• จัดตั้งอาณานิคม | 23 กรกฎาคม 1920 | ||||||||||
• จัดตั้งรัฐในอารักขา [1] | 29 พฤศจิกายน 1920 | ||||||||||
• เคนยาเป็นเอกราช | 12 ธันวาคม 1963 | ||||||||||
พื้นที่ | |||||||||||
1924[2] | 639,200 ตารางกิโลเมตร (246,800 ตารางไมล์) | ||||||||||
ประชากร | |||||||||||
• 1924[2] | 2,807,000 | ||||||||||
• 1955[3] | 6,979,931 | ||||||||||
• 1960[3] | 8,105,440 | ||||||||||
สกุลเงิน | ฟลอรินอีสต์แอฟริกา (1920–21) ชิลลิงอีสต์แอฟริกา (1921–60) | ||||||||||
| |||||||||||
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ | เคนยา โซมาเลีย |
อาณานิคมและรัฐในอารักขาเคนยา (อังกฤษ: Colony and Protectorate of Kenya) โดยทั่วไปรู้จักกันในชื่อ บริติชเคนยา (British Kenya) หรือ บริติชอีสต์แอฟริกา (British East Africa) เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิบริติชในแอฟริกา จัดตั้งขึ้นเมื่อมีการแปลงสถานะอดีตรัฐในอารักขาอีสต์แอฟริกาเป็นอาณานิคมในพระองค์ของบริติชใน ค.ศ. 1920 โดยทั่วไป คำว่า "อาณานิคมเคนยา" สื่อถึงดินแดนทางบก ส่วนบริเวณชายฝั่งที่มีความยาว 16 กิโลเมตร (มีลักษณะเหมือนกันกับรัฐสุลต่านแซนซิบาร์) คือ "รัฐในอารักขาเคนยา" แต่ทั้งสองดินแดนปกครองในรูปแบบรัฐเดี่ยว อาณานิคมนี้สิ้นสุดลงใน ค.ศ. 1963 เมื่อรัฐบาลที่มีเชื้อสายเคนยาส่วนใหญ่ชนะการเลือกตั้งครั้งแรก และภายหลังนำไปสู่การประกาศอิสระภาพเป็นสาธารณรัฐเคนยา
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Kenya Protectorate Order in Council, 1920 and dated 13 August 1920
- ↑ 2.0 2.1 "The British Empire in 1924". The British Empire. สืบค้นเมื่อ 23 July 2018.
- ↑ 3.0 3.1 "Kenya Population". Worldometers. สืบค้นเมื่อ 23 July 2018.
- Page, Malcolm (2011). King's African Rifles: A History. Pen and Sword (reprint). ISBN 9781473815780.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Kitching, Gavin N. Class and economic change in Kenya: The making of an African petite bourgeoisie 1905–1970 (Yale University Press, 1980)
- Lonsdale, John, and Bruce Berman. "Coping with the contradictions: the development of the colonial state in Kenya, 1895–1914." Journal of African History 20#04 (1979): 487–505.
- Mungeam, Gordon Hudson. British rule in Kenya, 1895–1912 (Oxford, Clarendon Press, 1966)
- Ochieng, William Robert. A history of Kenya (Macmillan Kenya, 1985)
- Ochieng, William Robert, and Robert M. Maxon, eds. An economic history of Kenya (East African Publishers, 1992)
- Wolff, Richard D. Britain and Kenya, 1870–1930: The Economics of Colonialism (Transafrica Publishers, 1974)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]หมวดหมู่:
- เคนยาของอังกฤษ
- อดีตอาณานิคมและรัฐในอารักขาของอังกฤษในทวีปแอฟริกา
- แอฟริกาตะวันออก
- ประวัติศาสตร์เคนยา
- เคนยาในทศวรรษที่ 1920
- เคนยาในทศวรรษที่ 1930
- เคนยาในทศวรรษที่ 1940
- เคนยาในทศวรรษที่ 1950
- เคนยาในทศวรรษที่ 1960
- รัฐสิ้นสภาพในทวีปแอฟริกา
- รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2463
- สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2506
- รัฐและดินแดนในเคนยาที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2463
- รัฐและดินแดนในเคนยาที่สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2506
- รัฐและดินแดนในจักรวรรดิอังกฤษที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2463
- รัฐและดินแดนในจักรวรรดิอังกฤษที่สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2506
- ความสัมพันธ์เคนยา–สหราชอาณาจักร
- ประวัติศาสตร์การเมืองเคนยา
- เคนยาในศตวรรษที่ 20