ข้ามไปเนื้อหา

อูลุฆ เบก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อูลุฆ เบก
มีรซา, สุลต่าน
ผู้ปกครองจักรสรรดิตีมูริด
ครองราชย์1447–1449
ก่อนหน้าชาห์ รุฆ
ถัดไปอับดัล-ลาตีฟ มีรซา
ประสูติ22 March 1394
ซุลานนีเยห์ จักรวรรดิตีมูริด (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดซันจัน ประเทศอิหร่าน)
Mirza Muhammad Taraghay
สวรรคต27 ตุลาคม 1449 (อายุ 55)
ซามาร์กันต์ จักรวรรดิตีมูริด (ปัจจุบันอยู่ในแคว้นซามาร์กันต์ ประเทศอุซเบกิสถาน)
ฝังพระศพกูเรอามือร์ ซามาร์กันต์ ในที่ไว้ศพกษัตริย์ตีมูร์
คู่อภิเษก
  • Aka Begi Begum
  • Sultan Badi al-mulk Begum
  • Aqi Sultan Khanika
  • Husn Nigar Khanika
  • Shukur Bi Khanika
  • Rukaiya Sultan Agha
  • Mihr Sultan Agha
  • Sa'adat Bakht Agha
  • Daulat Sultan Agha
  • Bakhti Bi Agha
  • Daulat Bakht Agha
  • Sultanim Agha
  • Sultan Malik Agha
พระราชบุตรอับดัล-ลาตีฟ มีรซา
ราชวงศ์ตีมูริด
พระราชบิดาชาห์ รุฆ
พระราชมารดากาวฮาร์ ชาด
ศาสนาศาสนาอิสลาม
อาชีพนักดาราศาสตร์, นักคณิตศาสตร์, ผู้นำการเมือง และ ผู้ปกครองแคว้น

มีรซา มุฮัมมัด ตาระฆัย บิน ชาห์รุฆ (ชากาทาย: میرزا محمد طارق بن شاہ رخ, เปอร์เซีย: میرزا محمد تراغای بن شاہ رخ; Mīrzā Muhammad Tāraghay bin Shāhrukh) หรือรู้จักดีในชื่อ อูลุฆ เบก (الغ‌ بیگ; Ulugh Beg, 22 มีนาคม 1394 – 27 ตุลาคม 1449) เป็นสุลต่านแห่งตีมูริด และนักดาราศาสตร์กับคณิตศาสตร์อิสลาม

อูลุฆ เบก เป็นที่รู้จักจากผลงานในสายงานคณิตศาสตร์และดาราศาสตร์อิสลาม เช่น ตรีโกณมิติ และ เรขาคณิตทรงกลม นอกจากนี้เขายังมีความสนใจในสาขาศิลปศาสตร์เช่นกัน[1][2] ว่ากันว่าเขาพูดได้ห้าภาษา คือ ภาษาอาหรับเปอร์เซียเติร์ก, มองโกเลีย และจีนกลาง[3] ในสมัยปกครองของเขา จักรวรรดิตีมูริด ถือว่าเป็นยุคทองทางวัฒนธรรมและเป็นจุดสูงสุดของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการตีมูริดผ่านความสนใจและการอุดหนุนของเขา

เขาเป็นผู้ก่อสร้างหอดูดาวอูลุฆ เบก ในซามาร์กันต์ สร้างขึ้นในปี 1424 ถึง 1429 และได้รับการยอมรับโดยบรรดานักวิชาการว่าดป็นหนึ่งในหอดูดาวที่ดีที่สุดของโลกอิสลามในเวลานั้น รยมถึงยังใหญ่ที่สุดในเอเชียกลาง[1] อูลุฆ เบก จีงได้รับการยอมรับว่าเป็นนักดาราศาสตร์เชิงสำรวจที่สำคัญที่สุดจากศตวรรษที่ 15 โดยนักวิชาการจำนวนมาก[4] นอกจากนี้เขายังสร้างมัดดราซาห์อูลุฆ เบก (1417–1420) ทั้งในซามาร์กันต์และบูฆารา เป็นผลให้ทั้งสองเมืองนี้ได้กลายสภาพเป็นศูนย์กลางการศึกษาของเอเชียกลางในสมัยนั้น[5]

อย่างไรก็ตาม ความสามารถในการปกครองของเขาไม่เท่ากับความสามารถทางวิทยาศาสตร์ ในสมัยการปกครองอันสั้นของเขา เขาไม่สามารถสร้างฐานอำนาจและปกครองได้ ผู้ปกครองคนอื่นรวมถึงคนในตระกูลเดียวกันได้ฉวยโอกาสนี้ขึ้นมาควบคุมจักรวรรดิ ท้ายที่สุด อูลุฆ เบก ถูกล้มราชบัลลังก์และถูกลอบสังหารในเวลาต่อมา[6]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Science in Islamic civilisation: proceedings of the international symposia: "Science institutions in Islamic civilisation", & "Science and technology in the Turkish and Islamic world"[1]
  2. "Ulugh Beg". OU Libraries. Britannica Academic. {{cite web}}: |url= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)
  3. "Samarkand: Ulugh Beg's Observatory". Depts.washington.edu.
  4. "The Legacy of Ulugh Beg | Central Asian Monuments | Edited by H. B. Paksoy | CARRIE Books". Vlib.iue.it. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-19. สืบค้นเมื่อ 2018-12-02.
  5. The global built environment as a representation of realities: By author:A.J.J. Mekking [2]
  6. "Ulugh Beg". The University of Oklahoma Libraries. Britannica Academic. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-19. สืบค้นเมื่อ 2022-11-10.

บรรณานุกรม

[แก้]
  • O'Connor, John J.; Robertson, Edmund F., "Ulugh Beg", MacTutor History of Mathematics archive, University of St Andrews.
  • 1839. L. P. E. A. Sedillot (1808–1875). Tables astronomiques d’Oloug Beg, commentees et publiees avec le texte en regard, Tome I, 1 fascicule, Paris. A very rare work, but referenced in the Bibliographie generale de l’astronomie jusqu’en 1880, by J.
  • 1847. L. P. E. A. Sedillot (1808–1875). Prolegomenes des Tables astronomiques d’Oloug Beg, publiees avec Notes et Variantes, et precedes d’une Introduction. Paris: F. Didot.
  • 1853. L. P. E. A. Sedillot (1808–1875). Prolegomenes des Tables astronomiques d’Oloug Beg, traduction et commentaire. Paris.
  • Le Prince Savant annexe les étoiles, Frédérique Beaupertuis-Bressand, in Samarcande 1400–1500, La cité-oasis de Tamerlan : coeur d'un Empire et d'une Renaissance, book directed by Vincent Fourniau, éditions Autrement, 1995, ISSN 1157-4488.
  • L'âge d'or de l'astronomie ottomane, Antoine Gautier, in L'Astronomie, (Monthly magazine created by Camille Flammarion in 1882), December 2005, volume 119.
  • L'observatoire du prince Ulugh Beg, Antoine Gautier, in L'Astronomie, (Monthly magazine created by Camille Flammarion in 1882), October 2008, volume 122.
  • Le recueil de calendriers du prince timouride Ulug Beg (1394–1449), Antoine Gautier, in Le Bulletin, n° spécial Les calendriers, Institut National des Langues et Civilisations Orientales, juin 2007, pp. 117–123. d
  • Jean-Marie Thiébaud, Personnages marquants d'Asie centrale, du Turkestan et de l'Ouzbékistan, Paris, éditions L'Harmattan, 2004. ISBN 2-7475-7017-7.